เรื่อง: การพัฒนาศักยภาพระบบแจงเตือนภัยทางอากาศ ของกองทัพบก, (วปอ.8705)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการทหาร/Military
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พ.อ. ธานี วาศะภูติ, (วปอ.8705)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2561
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง การพัฒนาศักยภาพระบบแจงเตือนภัยทางอากาศของกองทัพบก
ลักษณะวิชา การทหาร
ผูวิจัย พันเอก ธานี วาศภูติหลักสูตร วปอ. รุนที่ ๖๑
ภัยทางอากาศถือเป#นภัยคุกคามที่เกิดขึ้นไดอย,างรวดเร็ว รุนแรง และเกิดไดทุกเวลา
และทุกพื้นที่ สามารถสรางความเสียหายและสูญเสียแก,ประเทศที่ถูกโจมตีเป#นอย,างมาก ซึ่งในป4จจุบัน
เทคโนโลยีทางทหารไดมีการพัฒนาอย,างต,อเนื่องโดยเฉพาะยุทโธปกรณ7ที่ใชในการโจมตีทางอากาศไม,
ว,าจะเป#นเครื่องบินรบขีปนาวุธขามทวีปอาวุธปล,อยและอากาศยานไรคนขับหรือ UAV ส,งผลทําใหขีด
ความสามารถของระบบแจงเตือนภัยทางอากาศของกองทัพบกมีขอจํากัดในการสนองตอบต,อภัย
คุกคามทางอากาศสมัยใหม,ดังกล,าวไดอย,างมีประสิทธิภาพ สําหรับการวิจัยในครั้งนี้ผูวิจัยไดกําหนด
วัตถุประสงค7ไว๒ขอ คือ ๑) เพื่อศึกษาวิเคราะห7สถานภาพและป4ญหาขอจํากัดของระบบแจงเตือนภัย
ทางอากาศของกองทัพบก๒) เพื่อเสนอแนวทางในการพัฒนาศักยภาพระบบแจงเตือนภัยทางอากาศ
ของกองทัพบกเพื่อใหสามารถสนองตอบต,อภารกิจการปAองกันภัยทางอากาศของกองทัพบกไดอย,างมี
ประสิทธิภาพโดยกําหนดขอบเขตไวเฉพาะกรณีของหน,วยบัญชาการปAองกันภัยทางอากาศกองทัพบก
ในส,วนของวิธีดําเนินการวิจัยนั้นจะเป#นกระบวนการวิจัยเชิงคุณภาพซึ่งผลการศึกษาวิจัยสรุปไดว,า
ระบบแจงเตือนภัยทางอากาศของกองทัพบกประกอบไปดวยระบบเรดาร7ระบบควบคุมบังคับบัญชา
และระบบการติดต,อสื่อสารโดยสถานภาพในป4จจุบันนั้นยังไม,ไดรับการจัดหาเขาประจําการครบตาม
อัตราและส,วนใหญ,จะลาสมัย ไม,สามารถใหการแจงเตือนต,อภัยคุกคามทางอากาศสมัยใหม,ได สําหรับ
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพของระบบแจงเตือนภัยทางอากาศนั้นจะตองจัดหายุทโธปกรณ7
โดยเฉพาะเรดาร7ที่ทันสมัยทั้งในอัตราและนอกอัตราเพื่อเสริมขีดความสามารถในการตรวจจับ
เปAาหมาย และระบบควบคุมบังคับบัญชา C4
I ดานการแจงเตือนภัยทางอากาศที่มีประสิทธิภาพการ
เสริมสรางพัฒนาโครงข,ายสื่อสารโทรคมนาคมของกองทัพบก และการปรับโครงสรางกองพันทหาร
สื่อสารที่ ๑๓ เพื่อใหสามารถสนับสนุนการเชื่อมโยงขอมูลการแจงเตือนภัยทางอากาศในพื้นที่ที่ไม,มี
โครงข,ายได อย,างไรก็ตามขอเสนอแนะในการขยายผล ต,อยอดงานวิจัยในอนาคตนั้น ควรจะพิจารณา
ถึงแนวทางในการบูรณาการกับระบบแจงเตือนภัยทางอากาศของกองทัพอากาศและแนวทางการ
พัฒนาศักยภาพของระบบแจงเตือนภัยทางอากาศของกองทัพบกในส,วนของระบบกําลังพลและระบบ
การฝGกศึกษาเพื่อใหแนวทางการพัฒนาศักยภาพระบบแจงเตือนภัยทางอากาศของกองทัพบกเป#นไป
อย,างครบถวนในทุกมิติ
abstract:
Abstract
Title The Development of The Army Air Warning System
Field Military
Name ColonelThaneeWasaputiCourseNDCClass61
An air threat is a rapidly emerging and severely threat occurring at any
time and place. It caused a lot of damage and loss to attacked countries. Nowadays,
a military technology has been continuously developed especially equipment used
in air attacks such as fighters, inter-continental missiles, cruise missiles and
unmanned aerial vehicle or UAVscausing limitation tocapabilities of the Army Air
Warning System against such modern air threats.Therefore, this research has two
objectives: 1) to study and analyze status and problems of the Army Air Warning
System and 2) to propose guidelines to develop the Army Air Warning System in
order to respond to the Army's air defense missioneffectively by defining a scope
only for the case of the Army Air Defense Command.For research methodology, a
qualitative research method is usedand the results of the research concluded
thatthe Army Air Warning System consists of a radar system, a command & control
system and a communication system. The current status of such systems is that they
have not yet been procured at full and most of them are outdated so that they
could not provide enough efficient warning against all modern air threats. Guidelines
for the potential development of such system are that it is necessary to procure
equipment especially modern radars in order to enhance an air target detection
capability,to procure an effective C4
I system for the Army’ air warning and to
strengthen and develop the Army’s telecommunications network together withto
restructure the 13th Signal Battalion for support in linking of the Army’s air warning
information in areas with no network facilities.However, suggestions for further
research are thatit should consider a way to integrate with the Airforce's system and
a guideline for development of the Army Air Warning System in a personnel system
and education and training system in order that the potential development of the
Army Air Warning System to be complete in all dimensions.