เรื่อง: ภาษีมูลค่าเพิ่มเพื่อการออมรองรับสังคมผูสูงวัยในศตวรรษที่ ๒๑, (วปอ.8702)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พล.ต.ธัญญากรณ์ เตียตระกูล, (วปอ.8702)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2561
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง ภาษีมูลคาเพิ่มเพื่อการออมรองรับสังคมผูสูงวัยในศตวรรษที่ ๒๑
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผูวิจัย พลตรี ธัญญากรณ' เตียตระกูล หลักสูตร วปอ. รุนที่ ๖๑
ประเทศไทยกําลังเปลี่ยนผานเขาสูสังคมผูสูงวัยโดยสมบูรณ' (Aged Society) ในป= พ.ศ. ๒๕๖๔การ
เปลี่ยนแปลงเชิงโครงสรางทางสังคมทําใหมีการเพิ่มของผูสูงอายุซึ่งรอยละ ๗๐ มีปHญหาสุขภาพ และ
รอยละ ๒๘มีรายไดต่ํากวาเสนความยากจนทําใหรัฐอาจตองแบกรับภาระคาใชจายดานสาธารณสุข
ดานสวัสดิการและการปรับโครงสรางพื้นฐานสําหรับผูสูงอายุเพิ่มขึ้น กระทบตอความยั่งยืนทางการเงิน
การคลังและการขับเคลื่อนเศรษฐกิจและสังคมตามเปKาหมายของยุทธศาสตร'ชาติ ๒๐ ป=(พ.ศ. ๒๕๖๑ –
๒๕๘๐) มีคนไทยจํานวนมากที่ไมสามารถออมเพื่อวัยเกษียณไดอยางเพียงพอและทั่วถึง เนื่องจากความเหลื่อมล้ํา
ทางเศรษฐกิจ ขาดความรูในการวางแผนการเงินและไมเห็นความสําคัญในการออมแมที่ผานมารัฐบาล
ไดจัดสวัสดิการและบําเหน็จบํานาญผานกองทุนตาง ๆ แตกองทุนเหลานั้นขาดการบูรณการและการ
ผลักดันเชิงนโยบายมีอัตราการสมทบที่คอนขางต่ําและเหลื่อมล้ําและมีผลประโยชน'จากการลงทุนใน
อัตราเฉลี่ยต่ํา
ในการศึกษาความเปQนไปไดในการนํารายไดจากการเพิ่มอัตราการจัดเก็บภาษีมูลคาเพิ่ม
อีกรอยละ ๓ จากที่เรียกเก็บเดิมรอยละ ๗ เปQนรอยละ ๑๐ เพื่อนํามาสะสมใหกับผูใชจายเปQนการ
สงเสริมการออมเพื่อวัยเกษียณที่ทําใหทุกคนเขาถึงการออม คาดวาจะทําใหมีบํานาญต่ําสุดเพิ่มอีก
๙๒๔.๘๐– ๑,๕๔๑.๓๓บาทตอเดือนสนับสนุนการดําเนินการตามเปKาหมายของยุทธศาสตร'ชาติ ๒๐
ป= (พ.ศ. ๒๕๖๑ – ๒๕๘๐) ดานการสรางโอกาสความเสมอภาคและเทาเทียมกันทางสังคมผลที่รับ
ไดรับในทางออม คือ ภาษีรอยละ ๓ เพื่อการออมจะเปQนสิ่งที่สรางการมีสวนรวม ผลักดันและจูงใจให
ประชาชนและผูประกอบการเขาสูระบบภาษีมากขึ้น ทําใหสามารถขยายฐานภาษีและจัดเก็บภาษี
ไดมากตามไปดวย โดยบริหารจัดการเงินภาษีดังกลาวผานกลไกลระบบชําระเงินแบบอิเล็กทรอนิกส'
(National e-Payment) ซึ่งจะสงเสริมใหประเทศไทยเปQน ‘เศรษฐกิจไรเงินสด’ (Cashless
Economy) ไดรวดเร็วขึ้น และเปQนสวนหนึ่งที่จะชวยแกไขปHญหาการทุจริตคอรัปชั่นใหลดนอยลงได
ซึ่งในการดําเนินการเพื่อใหเกิดผลสัมฤทธิ์ไดนั้น ตองบูรณาการในหลายหนวยงานที่เกี่ยวของทั้งในดาน
การบริหารจัดการ กฎหมายการสงเสริมทักษะและองค'ความรูดานการเงินการออมในทุกกลุมวัยและ
ทุกอาชีพ และเรงรัดการจัดตั้งคณะกรรมการนโยบายบําเหน็จบํานาญแหงชาติเพื่อการบูรณาการและ
บริหารจัดการกองทุนตาง ๆ ใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
abstract:
Abstract
Title Value Added Tax for Savings Aged Society in the 21st Century
Field Economics
Name Maj.Gen.Tunyakorn Tiatrakul Course NDC Class 61
Thailand is transitioning into an aging society in 2021. Social structural changes
have increased the elderly, of which 70 percent have health problems, 28 percent
have lower income than the poverty line. Causing the state to bear the cost of
public health welfare and increased infrastructure for the elderly affect sustainability
financial, fiscal and economic and social driving according to the goals of the 20-year
national strategy due to economic inequality, lack of knowledge in financial planning
and no significant savings. In the past, the government has provided welfare and
pension through various funds, but those funds are lacking in the integrity and policy
push with a relatively low contribution rate and also overlap with a low return on
average investment.
In studying the feasibility of bringing revenue from increasing the VAT
collection rate by 3 percent from the original charge of 7 to 10 percent to
accumulate to the users for promoting the saving for retirement which enables
everyone to access to savings. It is expected that the average person's pension will
be the lowest at the average of 924.80-1,541.33 baht per month, in which supporting
the implementation of the goals of the 20-year national strategy (2018 - 2037),
creating opportunities, and equality in society. The indirectly expected results are 3
percent tax for savings, which is what creates participation, push and motivate
people and entrepreneurs to enter the tax system more thus able to expand the tax
base and collect as much taxes as well. By managing such taxes through payment
mechanism National e-Payment, this will promote Thailand to be the “Cashless
Economy”faster and is a part to help reducing corruption. In which to achieve that
many related departments both in management, law, promotion of skills and
financial knowledge Savings in every age group, every profession must be integrated
and accelerate the establishment of the National Pension Policy Committee for the
integration and management of various funds to be more efficient.