Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการส่งเสริมโภชนาการเพื่อสุขภาวะของผู้สูงอายุ, (วปอ.8699)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายธวัชชัย รัตนะพิสิฐ, (วปอ.8699)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2561
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ เรื่อง แนวทางการส งเสริมโภชนาการเพื่อสุขภาวะของผูสูงอายุ ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา ผูวิจัย นายธวัชชัย รัตนะพิสิฐหลักสูตร วปอ. รุนที่61 ป'จจุบันการเปลี่ยนแปลงโครงสรางทางประชากรกําลังเป,นปรากฏการณ/ที่สําคัญระดับโลก อันส งผลต อการพัฒนาประเทศเนื่องจากตองจัดงบประมาณเพื่อดูแลเพิ่มขึ้นในทุกๆ ป8 ซึ่งถาหากภาครัฐ และผูที่เกี่ยวของสามารถแกไขป'ญหาดานโภชนาการในผูสูงอายุไดอย างมีประสิทธิภาพ ย อมประหยัด งบประมาณไดเป,นจํานวนมาก ส งผลดีต อภาพรวมของการขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยดวยเช นกัน ดวยเหตุนี้ผูวิจัยจึงสนใจที่จะทําการศึกษาถึงป'ญหา อุปสรรค และขอจํากัดในการส งเสริม โภชนาการเพื่อสุขภาพของผูสูงอายุ อีกทั้งเสนอแนะแนวทางการปรับปรุงแกไข โดยผลการวิจัยสรุปไดว า 1. แนวโนมประชากรโลก รวมทั้งประเทศไทยจะมีผูสูงอายุมากขึ้น ซึ่งมีผลกระทบ ต อสังคมเศรษฐกิจ และบริการทางการแพทย/ 2. ป'ญหาและอุปสรรคของการส งเสริมโภชนาการผูสูงอายุในประเทศไทย เกิดขึ้นจาก ป'จจัยภายในของตัวผูสูงอายุเอง เช น ป'ญหาทางดานร างกาย จิตใจ ฐานะทางการเงินส วนบุคคล สถานภาพทางสังคม พฤติกรรมการบริโภค และการขาดความรูทางดานโภชนาการ และป'จจัยภายนอกตัว ผูสูงอายุ เช น การเปลี่ยนแปลงสภาพของโรคต างๆ อาหารในสภาพแวดลอมที่เป,นอยู ป'จจุบัน และการ ส งเสริมของหน วยงานที่เกี่ยวของทั้งภาครัฐและเอกชน 3. แนวทางการส งเสริมโภชนาการผูสูงอายุในประเทศไทย ตองมีหน วยงานภาครัฐเป,น แกนนําในการดําเนินการร วมกับหน วยงานที่เกี่ยวของอย างต อเนื่อง อันจะส งผลใหผูสูงอายุมีภาวะ โภชนาการที่ดี สามารถสรางประโยชน/ใหแก ประเทศชาติไดอย างเต็มที่ทั้งนี้สามารถสรุปสาระสําคัญของ การส งเสริมโภชนาการผูสูงอายุไดดังต อไปนี้ 3.1 ในระดับบุคคลตองใหความสําคัญกับการควบคุมอาหาร และโภชนาการ ควบคุม น้ําหนักตัวไม สูบบุหรี่ออกกําลังกายสม่ําเสมอทําจิตใจใหสบายไม ตึงเครียด เป,นตน 3.2 ในระดับนโยบาย ตองใหความสําคัญกับการพัฒนาระบบการใหบริการ พัฒนา บุคลากรที่เกี่ยวของ พัฒนาสถานที่รองรับการดูแลผูสูงอายุ รวมถึงการพัฒนาป'จจัยสนับสนุนอื่นๆ นอกจากนี้ผูวิจัยยังมีขอเสนอแนะเพิ่มเติมดังต อไปนี้ 1. ภาครัฐควรมีการประชาสัมพันธ/อย างเร งด วน ทั่วถึง และต อเนื่อง 2. ภาครัฐควรมีแนวทางที่ชัดเจนในการพัฒนาบุคลากรรองรับเทคโนโลยีใหม ๆ และการ พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการอย างจริงจัง ข 3. การวิจัยครั้งนี้ เนนการศึกษาเฉพาะกิจกรรมที่เกี่ยวของกับประเด็นทางดานโภชนาการ เพื่อผูสูงอายุเท านั้น หากมีการศึกษาในครั้งต อไป เห็นควรที่จะขยายกรอบของการศึกษาใหครอบคลุมถึง ประเด็นทางดานเศรษฐกิจ สังคม และจิตวิทยา ที่เกี่ยวของกับการส งเสริมสุขภาวะของผูสูงอายุดวย

abstract:

Abstract Title Improving Nutrition Support for Healthy Elderly Field Social - Psychology Name Mr.Thawatchai Ratanapisit Course NDC Class 61 At present the dramatically change of demographic becomes an important issue worldwide that has affected the country development. Due to its requirement to deliver special health care of elderly, the government and relevant departments or organizations need to spend increasingly budget each year. Meanwhile the effectiveness for nutrition solution can reduce spending and boost up Thailand economy. This report has aims to research the problems, obstacle and even the limitation of elderly nutrition supportinThailand. The research also reveals the effective approaches as follows; 1. The senior citizens worldwide and also in Thailand are rapidly increasing which affected the country’s formation of society, economy and medical services. 2. The problems of nutrition support have been occurred from elderly self-problem for example physical health, mental health, financial status, society position, consuming behavior, and lacking of nutrition ideology concept. Moreover, the environmentalfactorsalso play vital role deal withthe causeof nutrition problem such as changing form of diseases, food consuming behavior, and the support from the related government and private sectors. 3. The effectiveness of nutrition support for elderly in Thailand should work better from the cooperation between government and private sectors in order to enrich the nutrition as follows; 3.1 Individual approaches: the government and private sectors have to take a serious action of senior citizens on controlling dietary, nutrition, weight, non-smoking behavior, exercises and stress management etc. 3.2 Policy approaches: the government and private sectors have to pay attention to health service, personnel training, elderly residences, elderly care, and improving related support services etc. Furthermore the researcher also gives additional recommendations as follows; 1. Nutrition related Campaign should be urgently and continuously launched by the government. 2. Training needed to enhance technology skills, attitude and service management for government personnel. 3. The research should be continued and expanded to extend the relatedperspectivesthat affected from existing senior population in economy, society and psychology to boost up nutritionsupport for elderly in the future.