เรื่อง: การขับเคลื่อนยทุธศาสตร์ชาติโดยใช้การท่องเที่ยวเป็นเครื่องมือ ในการลดความเหลื่อมล้ำ : กลยุทธการส่งเสริมเมืองรอง กรณีศึกษาจังหวัดกาฬสินธุ์, (วปอ.8698)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายธเนศวร์ เพชรสุวรรณ, (วปอ.8698)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2561
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง การขับเคลื่อนยุทธศาสตรชาติโดยใชการทองเที่ยวเป"นเครื่องมือในการลด
ความเหลื่อมล้ํา : กลยุทธการสงเสริมเมืองรอง กรณีศึกษาจังหวัดกาฬสินธุ
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผูวิจัย นายธเนศวร เพชรสุวรรณ หลักสูตร วปอ. รุนที่ 61
เอกสารวิจัยสวนบุคคลนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาประเด็นการลดป5ญหาความเหลื่อมล้ํา
โดยใชการทองเที่ยวเป"นเครื่องมือสําคัญ ศึกษาความเชื่อมโยงของยุทธศาสตรชาติ 20 ป9 (พ.ศ. 2561-2580)
กับแผนปฏิบัติราชการของหนวยงานที่มีหนาที่รับผิดชอบดานการทองเที่ยวทุกระดับ โดยเฉพาะ
ตอประเด็นการสงเสริมการทองเที่ยวเมืองรองโดยใชจังหวัดกาฬสินธุเป"นกรณีศึกษา ตลอดจนวิเคราะห
ผลการลดความเหลื่อมล้ําและป5จจัยซึ่งนําไปสูความสําเร็จ เพื่อใหสามารถนํามาใชเป"นแบบอยางในการขยาย
ผลไปสูการปฏิบัติอยางมีประสิทธิผลเชนเดียวกันในพื้นที่อื่น
การศึกษานี้ใชวิธีการวิจัยแบบผสมผสานทั้งการวิจัยเชิงพรรณาจากการสังเคราะห
เอกสาร และการวิจัยเชิงคุณภาพจากการสัมภาษณผูมีสวนเกี่ยวของในพื้นที่ ผลวิจัยพบวาหนวยงาน
ที่มีสวนเกี่ยวของดานการสงเสริมการทองเที่ยวตางไดนํายุทธศาสตรชาติ (พ.ศ. 2561-2580) เป"นแนวทาง
ในการพัฒนาแผนปฏิบัติงานชองหนวยงานที่เกี่ยวของทุกระดับ ตั้งแตแผนพัฒนาการทองเที่ยวแหงชาติ
แผนวิสาหกิจการทองเที่ยวแหงประเทศไทย ไปจนถึงแผนพัฒนาการทองเที่ยวระดับจังหวัด
ของกาฬสินธุซึ่งเป"นพื้นที่กรณีศึกษาครั้งนี้ สําหรับผลของการทองเที่ยวตอการลดความเหลื่อมล้ํา
พบวาเป"นไปไดจริงอยางเป"นรูปธรรม โดยมีประเด็นที่นาสนใจดังนี้ (1) การทองเที่ยวชวยใหเกิด
การจางงานในทองถิ่น (2) การทองเที่ยวชวยชุมชนเขมแข็ง (3) การทองเที่ยวชวยใหภาคธุรกิจในพื้นที่
มีการเติบโต และ (4) การทองเที่ยวมีสวนพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากอยางแทจริง โดยป5จจัยสําคัญ
ที่มีผลตอความสําเร็จ ไดแก การสนับสนุนอยางมืออาชีพของหนวยงาน ที่มีหนาที่รับผิดชอบ กรณีนี้
ไดแก การทองเที่ยวแหงประเทศไทย (ททท.) โดยมีการกําหนด Brand Character ของจังหวัดกาฬสินธุ
อยางชัดเจนที่สอดคลองกับเอกลักษณของพื้นที่ ซึ่งเป"นป5จจัยสําคัญตอความสําเร็จทางการตลาด
อีกทั้งยังชวยสนับสนุนใหเกิดโครงการกระตุนการทองเที่ยวรูปแบบตางๆ นอกจากนี้ หนวยงานภาครัฐ
ระดับพื้นที่ยังใหความรวมมือเป"นอยางดี รวมกับชุมชนและผูประกอบการที่เห็นความสําคัญ
ของการทองเที่ยว ประกอบกับพื้นฐานของจังหวัดกาฬสินธุที่มีทรัพยากรสินคาทองเที่ยวที่นาสนใจ
อยางหลากหลาย
ทั้งนี้ เพื่อใหการทองเที่ยวเมืองรองมีผลตอการลดป5ญหาความเหลื่อมล้ําอยางยั่งยืน
ภายหลัง จากการทองเที่ยวแหงประเทศไทย (ททท.) ไดชวยกระตุนใหเกิดความตองการทองเที่ยวไดสําเร็จข
ในระดับหนึ่งแลว ควรตองลดบทบาทมาทําหนาที่เป"นที่ปรึกษาและสนับสนุนการตลาดภาพรวม
ระดับประเทศ ขณะที่หนวยงานระดับทองถิ่นทั้งภาครัฐและเอกชน จะตองเป"นผูขับเคลื่อนและสงตอ
ประสบการณการทองเที่ยวที่โดดเดน เพื่อสรางความประทับใจใหกับนักทองเที่ยวตอไปไดดวยตนเอง
abstract:
ABSTRACT
Title The Implementation of the National Strategy with the Use of Tourism as
a Tool to Reduce Inequality: Marketing Secondary Provices and a Case
Study of Branding Kalasin
Field Economics
Name Mr. Tanes Petsuwan Course NDC Class 61
The objectives of this independent study (IS) is to study the reduction of
inequality using tourism as a tool, to explore the connection among the 20-Year
National Strategy (B.E.2561-2580) and Action Plans of public tourism-related sectors
in all levels, specifically on a case study of branding Kalasin province, as well as to
analyse outcomes of inequality reduction and its key success factors in order to
apply and expand its effective practice to other areas nationwide.
The study applies a combination of methodologies including descriptive
and qualitative. The outcome of the study shows that all tourism-related sectors
have adopted the 20-Year National Strategy (B.E.2561-2580) as a guideline for Action
Plans at all levels from the National Tourism Development Plan to Kalasin Province
Tourism Action Plan. The study proves the effectiveness of tourism as a tool to
reduce inequality with significant indicators within the community on the followings;
1) tourism creates employment 2) tourism strengthens potentials and cooperation
3) tourism increases growth of business 4) tourism develops the economics to its
roots. Key success factors include support from a professional body, in this case, TAT
with its role of branding Kalasin. On top of this, a cooperation and commitment of all
related public and private sectors and a diversity of tourism resources Kalasin are
crucial for its success.
However, to make tourism in Kalasin sustainable is one challenging task.
After initiating its brand characters and gaining involvement from the local community,
TAT must torn down its role to be an advisor allowing the community to take charge
and build their own strength in order to continue delivering travel experiences that
the province is committed to their tourists.