Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การพัฒนางานในกรอบอาเซียนของกระทรวงกลาโหม เพื่อสนับสนนุยุทธศาสตร์ ชาติด้านความมั่นคง, (วปอ.8688)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการทหาร/Military
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พล.ต. ทิฆัมพร ชุลีลัง, (วปอ.8688)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2561
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ เรื่อง การพัฒนางานในกรอบอาเซียนของกระทรวงกลาโหม เพื่อสนับสนุน ยุทธศาสตร ชาติด$านความมั่นคง ลักษณะวิชา การทหาร ผูวิจัย พลตรี ทิฆัมพร ชุลีลัง หลักสูตร วปอ.รุนที่ ๖๑ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาและวิเคราะห บทบาทและหน$าที่ของเจ$าหน$าที่ กระทรวงกลาโหมที่รับผิดชอบงานในกรอบอาเซียน ความเหมาะสม ข$อดีและข$อจํากัดของ การดําเนินงานในกรอบอาเซียนของกระทรวงกลาโหมในป1จจุบัน รวมทั้งเสนอแนวทางในการพัฒนา งานในกรอบอาเซียนของกระทรวงกลาโหมในอนาคตให$สามารถสนับสนุนยุทธศาสตร ชาติด$าน ความมั่นคงในประเด็นยุทธศาสตร ที่ ๔ ได$อย7างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยใช$การวิจัย เชิงคุณภาพและเชิงพรรณาประชากร ได$แก7เจ$าหน$าที่ระดับหัวหน$าหน7วยงาน และฝ;ายเสนาธิการ ในสํานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม กองบัญชาการกองทัพไทย และเหล7าทัพ โดยเลือกกลุ7มตัวอย7าง แบบเฉพาะเจาะจง ได$แก7 เจ$าหน$าที่ที่ปฏิบัติงานเกี่ยวกับอาเซียนมาอย7างต7อเนื่องและยาวนาน เครื่องมือ ที่ใช$ ประกอบด$วย การสัมภาษณ แบบมีโครงสร$าง การสัมภาษณ เชิงลึกและการสังเกตแบบไม7มีส7วนร7วม การวิเคราะห ข$อมูลเชิงคุณภาพใช$การวิเคราะห แบบจําแนกชนิดของข$อมูล การเปรียบเทียบข$อมูล และ การวิเคราะห แบบอุปนัย ส7วนการวิเคราะห ข$อมูลเชิงปริมาณใช$การวิเคราะห จากสถิติเชิงพรรณนา ได$แก7 ค7าเฉลี่ยและส7วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว7าบทบาทและหน$าที่ของเจ$าหน$าที่กระทรวงกลาโหมในฐานะ ฝ;ายอํานวยการของผู$บังคับบัญชาและในฐานะของผู$นํายุทธศาสตร ด$านความมั่นคงไปปฏิบัติมี ความสําคัญต7อการดําเนินงานในกรอบอาเซียนในป1จจุบันส7วนประเด็นในด$านกําลังพลระบบงานและ โครงสร$างหน7วยในป1จจุบันมีทั้งจุดแข็งจุดอ7อนโอกาสและอุปสรรคและสามารถได$รับการพัฒนาเพื่อ สนับสนุนองค ประกอบทั้ง ๓ ประการของประเด็นยุทธศาสตร ที่ ๔ ของยุทธศาสตร ชาติด$านความมั่นคง ได$ในอนาคต ส7วนข$อเสนอแนะสําหรับการพัฒนาด$านกําลังพลคือผู$บังคับหน7วยเปBนป1จจัยที่มี ความสําคัญสูงสุดควรมีวิสัยทัศน มีมุมมองที่ทันสมัยมีความเข$าใจต7อยุทธศาสตร ชาติด$านความมั่นคง สามารถแปลงยุทธศาสตร เปBนภารกิจแผนและโครงการ และสามารถกํากับดูแลฝ;ายเสนาธิการและ เจ$าหน$าที่ผู$ปฏิบัติส7วนกําลังพลของหน7วยควรได$รับการปลูกฝ1งทัศนคติที่ดีเกี่ยวกับงานอาเซียน มีโอกาสเข$าร7วมกิจกรรมอาเซียนเพื่อสร$างประสบการณ และความรู$และมีการบรรจุกําลังพลที่มีคุณวุฒิ เหมาะสม การพัฒนาด$านระบบงานคือการกําหนดและมอบหมายภารกิจอย7างชัดเจน มอบภารกิจที่เหมาะสมสนับสนุนงบประมาณอย7างเพียงพอมีตัวชี้วัดความสําเร็จเปCดโอกาสให$กําลังพล มีส7วนร7วมและตัดสินใจในกิจกรรมอาเซียนส7วนการพัฒนาด$านโครงสร$างหน7วยคือการได$รับ การสนับสนุนจากหน7วยต7างๆการมีวัสดุอุปกรณ อย7างเพียงพอ และการจัดตั้งหน7วยงานเพื่อรับผิดชอบงาน อาเซียนเปBนการเฉพาะ

abstract:

Abstract Title The Development of the Ministry of Defence’s Undertakings with in the ASEANFramework in Support of the National Stratety for NationalSecurity Field Military Name Major General ThikampornChulilungCoursNDCClass61 The objectives of this research were to study and analyse contemporary roles and functions of the Ministry of Defence (MOD)’s officers who undertook tasks within the ASEAN framework, suitability, strengths and weaknesses of the MOD’s work within the ASEAN framework, as well as to recommend approaches to upgrade future the MOD’s work within the ASEAN framework so as to support the 4 th Guidelines of the National Strategy for National Security efficiently and effectively. The study was the qualitative and descriptive reaearch. The population was heads of the unit and staff personnel who served in the Office of Permanent Secretary, the Royal Thai Armed Forces Headquarters and the three Services. The sample was the officers who had long-term experience and expertise on ASEAN affairs. The research tools comprised structure interview, in-depth interview and non-participant observation.Qualitative data were analysed by typological analysis, constant comparison and analytic induction techniques. Quantitative data were analysed using descriptive statistics, namely mean and standard diviation. The study found that the roles and functions of the MOD’s officers as staff personnel and implementors of security strategy were significant in contemporary undertakings within the ASEAN framework. The issues on personnel, work system and organisational structure had strengths, weaknesses, opportunities and challenges at present and could be upgraded so as to support the three components of the 4th Guidelines of the National Strategy for National Security in the future. The recommendations for the personnel issue included the heads of unit who were the most important factors should have a clear vision and advanced attitude, understand the National Strategy for National Security, be able to translate the Strategy into a mission, plans and projects and be capable of supervising staff and implementing personnel. Personnel of the units should be educated to have positive attitudes towards ASEAN affairs, have opportunities to participate in ASEAN activities to gather experience and knowledge. Qualified personnel should be recruited to work in ASEAN affairs. As for the development of work system, assignments should be clearly established and correctly designated to appropriate agencies. The units should be financially supported with sufficient budget. They should have the measurement indicators for success and provide opportunities for personnel to participate and make decision. Regarding the development of organisational structure, it should allow close support from external agencies and have enough materials to support the activities. The establishment of the specific units so as to undertake ASEAN affairs was also recommended.