เรื่อง: แนวทางการแก้ไขปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ในมติิทางการทูต, (วปอ.8685)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการเมือง/Politics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายทวีเกียรติ เจนประจักษ์, (วปอ.8685)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2561
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื่อง แนวทางการแก้ไขปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ในมิติทางการทูต
ลักษณะวิชา การเมือง
ผู้วิจัย นายทวีเกียรติ เจนประจักษ์ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๑
ปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยถือได้ว่าเป็นปัญหา
ด้านความมั่นคงของประเทศส าคัญปัญหาเดียวที่ยังคงคั่งค้างมายาวนาน ไม่สามารถแก้ไขให้ยุติลงได้
เมื่อเปรียบเทียบกับปัญหาความมั่นคงอื่นๆ เช่น ปัญหาข้อพิพาทเขตแดนกับประเทศเพื่อนบ้าน
ปัญหาจากภัยของลัทธิอุดมการณ์คอมมิวนิสต์ทั้งนี้ เนื่องจากปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดน
ภาคใต้มีปัจจัยและเงื่อนไขที่ซับซ้อนทั้งมิติภายในประเทศและมิติภายนอกประเทศ รวมถึงประเด็น
ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ในเรื่องดินแดน การปกครอง ชาติพันธุ์ ศาสนา ภาษา และวัฒนธรรม โดยที่
ผ่านมาประเทศไทยได้พยายามแก้ไขปัญหามาโดยตลอดและมีการน ามาตรการต่าง ๆ มาใช้ทั้งด้าน
การใช้ก าลัง (Hard Power) การพัฒนาพื้นที่ (Development) ซึ่งบางยุคสมัยปัญหาได้บรรเทาเบา
บางลง บางยุคเกิดเหตุการณ์รุนแรงส่งผลให้มีการสูญเสียชีวิต ใช้งบประมาณและก าลังพลจ านวนมาก
ในการแก้ไขปัญหาแต่ปัญหาก็ยังไม่สามารถยุติลงได้ ผู้วิจัยได้ตั้งค าถามต่อปัญหาเรื่องนี้ว่า หากเรา
จะลองน าแนวทาง วิธีการหรือรูปแบบอื่นมาใช้หรือมาช่วยสนับสนุนการแก้ไขปัญหานี้ จะดีหรือ
จะมีหรือไม่ จึงได้ท าการศึกษาแนวทางหรือรูปแบบในการแก้ไขปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดน
ภาคใต้ในมิติทางการทูต โดยน าแนวคิด ทฤษฎีทางการทูต กฎหมายระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องมา
ปรับใช้แก้ปัญหา พร้อมศึกษาเปรียบเทียบกับแนวทางการแก้ไขปัญหาในลักษณะนี้ของประเทศต่าง ๆ
อันเป็นแนวปฏิบัติที่ดี(Best Practices) ซึ่งจากการวิจัยพบว่า การน าแนวคิด ทฤษฎีเรื่อง Soft Power
มาใช้แทน Hard Power เพื่อแก้ปัญหาความขัดแย้งระหว่างประเทศหรือในประเทศต่าง ๆ ประสบ
ผลส าเร็จมากกว่า โดยเฉพาะปัญหาความแตกต่างในเรื่องชาติพันธุ์ ศาสนา วัฒนธรรม และเป็น
แนวทางที่องค์การสหประชาชาติให้การสนับสนุน ทั้งนี้ แนวคิด ทฤษฎีเรื่อง Soft Power รวมไปถึง
แนวคิดเรื่อง การทูตสาธารณะ (Public Diplomacy) และการเจรจา พูดคุยอันเป็นส่วนหนึ่งของ
กระบวนการสันติภาพ (Peace Process) ทั้งนี้ ผลการวิจัยสามารถสรุปข้อเสนอแนะแนวทางในการ
แก้ไขปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ออกมาเป็นตัวแบบ (Model) ๒ ตัวแบบ คือ
๑. ตัวแบบแนวทางการแก้ไขปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ในมิติด้านต่างประเทศ
ที่เรียกว่า Preventive Arrows Model และ ๒. ตัวแบบแนวทางการแก้ไขปัญหาความไม่สงบใน
จังหวัดชายแดนภาคใต้ในมิติในประเทศ ที่เรียกว่า South Beautiful Model
abstract:
Abstract
Title Finding solutions to Thailand’s Southern Border Provinces : A Diplomatic
Approach
Field Politics
Name Mr. Twekiat Janprajak Course NDC Class 61
The political unrest in Thailand’s Southern Border Provinces has continued to
be Thailand’s most dire security issue. When compared to other national security
issues such as border disputes between neighboring countries and ideological threat
from communism, the political unrest in Thailand’s Southern Border Provinces remains
unresolved. This is because the crux of the political unrest is the construction of
complex factors and conditions, including both domestic and international dimensions.
Other contributing factors include historical background and the distinctive religion, ethnic,
linguistic and cultural traits of the region. Nonetheless, Thailand has continued its
commitment to resolve this issue by adopting and implementing various measures
and approaches, including hard power and development approach. These measures
and approaches have at times alleviated the problem, but at times have consumed
more budget and manpower, and have caused more violence resulting in the lives of
many Thais. Yet given these efforts, the problem remains unresolved. This research
paper thus aims to answer the following question: are there other approaches,
measures or methods in addressing the political unrest in Thailand’s Southern Border
Provinces? The research paper sets out to answer this question by exploring a diplomatic
approach. First, the researcher incorporates and integrates diplomatic concepts and
theories as well as relevant international laws. Second, the researcher analyzes the
similarities and differences of approaches and best practices implemented by various
countries. The analysis found that addressing international or domestic conflict by
implementing soft power theory instead of hard power theory has been much more
successful – an approach also supported by the United Nations. Furthermore, the
analysis illustrated that soft power theory has been much more effective in
addressing problem arising from distinctive ethnic, religion and culture. Soft power
theory,