เรื่อง: การศึกษาสุขภาพจิต และความเครียดของเจ้าหน้าที่ ฝ่ายความมั่นคงในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้, (วปอ.8684)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พล.ต.ต.ทรงเกียรติ วาทะกุล, (วปอ.8684)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2561
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
บทคัดย่อ
เรื่อง การศึกษาสุขภาพจิตและความเครียดของเจ้าหน้าที่ฝ่ายความมั่นคงในพื้นที่
จังหวัดชายแดนภาคใต้
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผู้วิจัย พลต ารวจตรี ทรงเกียรติ วาทะกุล หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๑
การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อประเมินภาวะสุขภาพจิตและความเครียด
ของเจ้าหน้าที่ฝ่ายความมั่นคงที่ปฏิบัติภารกิจในพื้นที่ ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้ และเพื่อจัดท า
ข้อเสนอแนะแนวทางในการเสริมสร้างสุขภาพจิต ให้กับเจ้าหน้าที่ฝ่ายความมั่นคงที่ปฏิบัติงานในพื้นที่ ๓
จังหวัดชายแดนภาคใต้ การวิจัยครั้งนี้เป็นการด าเนินงานวิจัยแบบผสม (Mixed Method) โดยการใช้การ
วิจัยเชิงปริมาณ ด้วยการรวบรวมข้อมูลจากการแจกแบบสอบถามจากเจ้าหน้าที่ฝ่ายความมั่นคงที่
ปฏิบัติงานในพื้นที่ ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้ จ านวนทั้งสิ้น ๒๐๐ คน ซึ่งน าข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ด้วย
โปรแกรมส าเร็จรูป SPSS และการวิจัยเชิงคุณภาพ ที่ด าเนินการเก็บข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์
เชิงลึก เจ้าหน้าที่ฝ่ายความมั่นคงระดับนโยบาย จ านวน ๑๒ คน และท าการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา
(Content Analysis) ผลการศึกษา พบว่า เจ้าหน้าที่ฝ่ายความมั่นคงส่วนใหญ่ในวามเครียดใน
ระดับน้อย และความเครียดในระดับน้อยที่สุด ร้อยละ ๘๗ และความเครียดในระดับปานกลาง
ร้อยละ ๑๐.๕ โดยเจ้าหน้าที่ฝ่ายความมั่นคงที่มีความเครียดในระดับมากถึงมากที่สุด ร้อยละ ๒.๕
โดยปัจจัยด้านการท างาน ปัจจัยทางเศรษฐกิจ ปัจจัยทางสุขภาพ ปัจจัยทางครอบครัวและสังคม
ปัจจัยท างด้ านป ระสบ ก ารณ์ในอดีต และปัจจัยด้ านก ารพั กผ่อน ส่งผลต่อสุขภ าพ จิตแล ะ
ระดับความเครียดของเจ้าหน้าที่ฝ่ายความมั่นคงที่ปฏิบัติหน้าที่ในพื้นที่ ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้
อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ ๐.๐๑ จากการสัมภาษณ์ พบว่าประเด็นปัญหาที่ส่งผลต่อภาวะ
ความเครียดของเจ้าหน้าที่ฝ่ายความมั่นคง ได้แก่ปัญหาส่วนตัว ปัญหาจากการปฏิบัติหน้าที่ และ
ความปลอดภัยในการปฏิบัติหน้าที่ภายใต้สถานการณ์ความรุนแรง ข้อเสนอแนะจากการศึกษา
คือควรจัดให้มีนโยบายในการป้องกัน แก้ไขและส่งเสริมปัญหาสุขภาพจิตอย่างเป็นระบบ และควรจัดให้มี
การจัดอบรมให้เจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานในพื้นที่จัดหวัดชายแดนภาคใต้มีความรู้ทางด้านสุขภาพจิต และ
แนวทางในการบริหารจัดการความเครียด นอกจากนี้ควรพิจารณาปรับสวัสดิการ ห้วงเวลาใน การ
ปฏิบัติงานที่ชัดเจน ค่าตอบแทนอัตราก าลังให้เหมาะสม และอุปกรณ์ในการปฏิบัติงานให้สามารถ
ใช้การได้และเพียงพอ
abstract:
Abstract
Title A study of the mental health and stress levels of defence personnel in the
Southern Provinces
Field Social - Psychology
Name Police Major General Songkiat Wathakul Course NDC Class 61
The purpose of this study was to evaluate the mental health and stress
level status of defence personnel in the three southern border provinces. In addition, to
provide recommendations for improving mental health among the defence personnel.
Research was carried out using the mixed method approach, through quantitative
research, collection of data from a questionnaire distributed to 200 defence personnel
in the three southern provinces. The data obtained was then analyzed using SPSS.
Qualitative research which was carried out by conducting in-depth interviews with 12
policy level defence personnel, followed by content analysis of the data obtained. From
the research,low to lowest levels of stress were found among the defence personnel at
87 percent, and a medium level of stress at 10.5 percent. Defence personnel with high
levels of stress accounted for 2.5 percent. Work factors, economic factors, health
factors, family and society factors, past experience, and rest and relaxation have an
impact on mental health and the level of stress experienced by the defence personnel
in the three southern provinces at a statistically significant level of 0.01. From the
interviews it was found that issues that impact the level of stress of the defence
personnel include personal matters, problems on-duty and safety while operating in
dangerous situations. Recommendations based on findings include having a policy which
prevents, solves and supports mental health issues in a systematic manner. Training on
mental health and stress management should be provided to defence personnel in the
southern provinces. In addition, consideration should be given to adjusting benefits,
clarity on the amount of hours spent on duty, appropriate compensation and
equipment used in operations that is operable and sufficient.