เรื่อง: การกําหนดบทบาทของศูนย์อํานวยการรักษาผลประโยชน์ของชาติ ทางทะเลเพื่อรองรับภัยคุกคามรูปแบบใหม่ทางทะเล, (วปอ.8682)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการทหาร/Military
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พล.ร.ต. เถลิงศักดิ์ ศิริสวัสดิ์, (วปอ.8682)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2561
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง การกําหนดบทบาทของศูนยอํานวยการรักษาผลประโยชนของชาติ
ทางทะเลเพื่อรองรับภัยคุกคามรูปแบบใหม'ทางทะเล
ลักษณะวิชา การทหาร
ผูวิจัย พลเรือตรี เถลิงศักดิ์ ศิริสวัสดิ์ หลักสูตร วปอ. รุนที่ ๖๑
ด/วยในป0จจุบัน ประเทศไทยยังต/องเผชิญกับป0ญหาภัยคุกคามรูปแบบใหม'ทางทะเล
เช'น การก'อการร/ายในทะเล การประมงโดยผิดกฎหมาย ขาดการรายงานและไร/การควบคุม
การหลบหนีเข/าเมืองและการโยกย/ายถิ่นฐานโดยไม'ปกติทางทะเล การค/ามนุษยและการใช/แรงงาน
ผิดกฎหมาย การลักลอบลําเลียงยาเสพติดและสิ่งผิดกฎหมายทางทะเล การกระทําอันเป6นโจรสลัด
อุบัติเหตุทางทะเล และภัยพิบัติตามธรรมชาติ เป6นต/น ซึ่งป0ญหาเหล'านี้มีแนวโน/มว'าจะ
ทวีความรุนแรงมากขึ้นตามสภาพความเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศโลก และการแสวงประโยชนจาก
ทะเลของไทยและประเทศเพื่อนบ/าน ดังนั้น การยกระดับ ศรชล. ขึ้นเป6นศูนยอํานวยการจึงต/อง
กําหนดบทบาทของ ศรชล. เพื่อรองรับภัยคุกคามรูปแบบใหม'ทางทะเลให/ชัดเจนต'อไป
การวิจัยในครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงคเพื่อให/ ศรชล. ในฐานะศูนยอํานวยการฯ กําหนด
บทบาทและกลไกของศูนยอํานวยการรักษาผลประโยชนของชาติทางทะเลรองรับภัยคุกคามรูปแบบใหม'
ทางทะเลให/มีความเหมาะสม ชัดเจน เป6นเอกภาพ และเกิดประโยชนสูงสุดในการบูรณาการ สําหรับ
ผลการวิจัยพบว'า แนวทางการดําเนินการของ ศรชล.ในอนาคตนั้น ควรจัดให/มีกําลังพลจาก
๖ หน'วยงานหลักเดิมของ ศรชล. มาปฏิบัติงานร'วมกันในลักษณะของหน'วยปฏิบัติการร'วม
หรือ Joint Interagency อันทําให/สามารถประสานงานนโยบายเฉพาะด/าน และดํารงความเชี่ยวชาญเดิม
ของหน'วยงานหลักไว/ได/อย'างมีประสิทธิภาพในเวลาเดียวกัน ซึ่งควรต/องมีการออกแบบโครงสร/างของ
ศรชล. (ศูนยอํานวยการฯ) เพื่อรองรับทั้งส'วนบริหาร ส'วนอํานวยการ และส'วนปฏิบัติการ รวมถึง
ควรมีการจัดสรรอัตรากําลังสนับสนุนการปฏิบัติงานอย'างพอเพียง ในส'วนของแนวคิดการควบคุม
สั่งการนั้น ศูนยยุทธการ ศรชล. (MISC) จะปฏิบัติหน/าที่เป6นหน'วยงานหลักในการรวบรวมและ
กระจายข/อมูลข'าวสารกับ ศรชล.ภาค และแสดงภาพสถานการณ รวมถึงสั่งการไปยังหน'วยงาน
ที่เกี่ยวข/อง โดยมี ศรชล.ภาคจัดกําลังเข/าปฏิบัติการ และมีการควบคุมบังคับบัญชาแบบเป6นพื้นที่
(Area Command Concept) ตามความแตกต'างของลักษณะภูมิศาสตร สภาพแวดล/อม และ
ภัยคุกคาม นอกเหนือจากแนวคิดในการปฏิบัติการ (Operational Concept) ซึ่งเป6นการบูรณาการ
ขีดความสามารถของหน'วยงานของรัฐในการจัดการป0ญหาทางทะเลอย'างมีเอกภาพในภาพรวม และ ก
การเตรียมวางกําลังพร/อมรับสถานการณแล/ว ศรชล. และ ศรชล.ภาค ควรจัดให/มีแนวคิดและ
แผนเผชิญเหตุรองรับภัยคุกคามรูปแบบใหม'ทางทะเลเฉพาะด/าน เพื่อให/หน'วยรับผิดชอบหลักและ
หน'วยประสานงานในพื้นที่สามารถตอบสนองต'อภัยคุกคามที่เกิดขึ้นอย'างรวดเร็วทันเวลา อันจะเป6น
การลดความเสี่ยงในการขยายตัวของภัยคุกคามและผลกระทบที่จะเกิดขึ้น
abstract:
ABSTRACT
Title Role of the Thai Maritime Enforcement Command Center in
response to Maritime Non Traditional Threats
Field Military
Name Rear Admiral Talerngsak Sirisawat Course NDC Class 61
Thailand, nowadays, has long been experienced various maritime non-traditional threats
such as terrorism, IUU fishing, illegal and irregular migrants, human trafficking, smuggling, piracy and
armed robbery, maritime incidents, environmental degradation, and natural disaster. Such threats tend
to be increased in terms of frequency and severity in accordance with global resource exploitations
and climate change. Therefore, the Thai Maritime Enforcement Coordinating Center (Thai-MECC)
was upgraded to be “a Command Center” by law in responsible to cope with such evolving threats.
The Maritime National Interests Protection Act BE.2562 has been issued in March 2019 with its
Authorities to integrate public agencies as required.
However, the act does not provide sufficient details including organizational structure,
operational concepts and management, task forces, etc. It consequently needs to determine
appropriate organizational structure and concepts to operate the new Thai-MECC to gain the most
efficient management particularly integration of forces under unity of command. Not only have the six
maritime agencies of Thai-MECC including Royal Thai Navy, Marine Police, Department of Fisheries,
Customs, Marine Department, and Department of Marine and Coastal Resources still been working
but also other relevant public agencies are jointed when required under the new law.
The research aims to determine role, concepts and mechanism of the new Thai-MECC
in response to evolving maritime non-traditional threats and found that the new organization should
have three hierarchy of management including policy, staff, and operational level. To maximize its
performance, personnel of six main agencies should work together in the same unit with
an appropriate rotation period to maintain their expertise. Furthermore, the Thai-MECC Task forces
should be set up and deployed to the three operational areas under the Area Command Concept.
The Thai MECC Area Commands subsequently may provide their own contingency plans according to their
possible threats. In brief, both personnel and forces should be combined as “Interagency Task Force”
In addition, the research also found that the most significant part of the operation is the effectiveness
of maritime information sharing center (MISC). The robust national and international information
exchange system directly leads to establishment of effective maritime domain awareness and result
in law enforcement timely and precisely.