เรื่อง: การสร้างการมีส่วนรวมของประชาชนที่เคยเห็นต่างจากรัฐ ด้วยยุติธรรมเปลี่ยนผ่าน เพื่อพัฒนาท้องถิ่นตามแนวทางสันติวิธี ในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ สนองตอบยุทธศาสตร์ชาติ ด้านความมั่นคง, (วปอ.8677)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติยุทธศาสตร์/Strategy
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พ.อ. ดิเรก ดีประเสริฐ, (วปอ.8677)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2561
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง การสรางการมีส
วนร
วมของประชาชนที่เคยเห็นต
างจากรัฐ ดวยยุติธรรมเปลี่ยนผ
าน
เพื่อพัฒนาทองถิ่นตามแนวทางสันติวิธี ในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต
สนองตอบยุทธศาสตร.ชาติ ดานความมั่นคง
ลักษณะวิชา ยุทธศาสตร.
ผูวิจัย พันเอก ดิเรก ดีประเสริฐ หลักสูตร วปอ. รุนที่ 61
การวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค. ดังนี้ 1) เพื่อสรางการเขาใจรับรู และยอมรับการ
ดําเนินการตามกระบวนการยุติธรรมของรัฐ ของผูเคยเห็นต
างจากรัฐ ที่เป5นผูตองขังและผูเคยกระทํา
ความผิดในคดีความมั่นคง 2) เพื่อสรางเสริมความไวเนื้อเชื่อใจต
อรัฐ ทั้งผูเคยเห็นต
างจากรัฐ ที่เป5น
ผูตองขัง และเมื่อพนโทษแลว สู
สภาวะแวดลอมที่เกื้อกูลต
อความร
วมมือกับรัฐ3) เพื่อสรางการมี
ส
วนร
วมของประชาชนที่เคยเห็นต
างจากรัฐ ดวยยุติธรรมเปลี่ยนผ
าน เพื่อพัฒนาทองถิ่นตามแนวทาง
สันติวิธี ในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต สนองตอบยุทธศาสตร.ชาติ ดานความมั่นคงมีขอบเขตของ
การวิจัยคือ1) ขอบเขตดานเนื้อหาศึกษาเนื้อหาเกี่ยวกับแนวคิด ทฤษฎีที่เกี่ยวของอย
างกวางขวางอาทิ
ยุทธศาสตร.พระราชทานในการแกป=ญหา 3 จังหวัดชายแดนภาคใต แนวคิดการสรางการมีส
วนร
วม
ยุทธศาสตร.ชาติดานความมั่นคงแนวคิดการอบรมบ
มเพาะแนวคิดยุติธรรมเปลี่ยนผ
าน2) ขอบเขต
ดานประชากร เป5นผูเคยเห็นต
างจากรัฐ ที่เป5นผูตองขังในเรือนจํา และผูที่เคยกระทําความผิดคดี
ความมั่นคงในพื้นที่รวมทั้งผูเชี่ยวชาญ นักวิชาการ และนักการทหารที่มีความรูและประสบการณ.ใน
พื้นที่โดยใชวิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ผลการวิจัย ที่ตอบวัตถุประสงค.ขอที่ 1
พบว
า ตองกําหนดเจตนารมณ.ในการสื่อสารทางยุทธศาสตร.สนับสนุนการแกไขป=ญหา ชี้ใหกลุ
มเปNาหมาย
ไดรับรูว
าเจาหนาที่รัฐมุ
งแกป=ญหาโดยไม
ใชความรุนแรง ทําใหเกิดความเชื่อมั่นว
าสามารถรักษา
ความปลอดภัย ทําใหประชาชนใชชีวิตไดอย
างเป5นปกติ รวมทั้งจํากัดเสรีในการปฏิบัติของกลุ
มผูก
อ
เหตุเหตุรุนแรงส
วนที่ตอบวัตถุประสงค.ขอที่ 2 พบว
าตองวางแผนในการปฏิบัติการที่ชัดเจน
การศึกษาสภาพแวดลอมในพื้นที่อย
างรอบดานในทุกมิติเป5นลําดับแรก โดยตองมุ
งสู
ผูที่เคยเห็นต
าง
จากรัฐ และครอบครัว เพื่อเขาใจในกระบวนการยุติธรรมของรัฐอย
างถูกตองส
วนตอบวัตถุประสงค.
ขอที่ 3 พบว
า การสรางการมีส
วนร
วมของผูที่เคยเห็นต
างจากรัฐในภาพรวม ไดแก
1) สานสัมพันธ.
2) มุ
งมั่นจริงใจ 3) ระเบิดจากขางใน 4) ใหความกระจ
าง 5) ร
วมสรางสันติสุข โดยมีขอเสนอแนะที่
สําคัญคือ รัฐบาลควรนําขอคนพบจากการศึกษาครั้งนี้ ไปกําหนดเป5นนโยบายที่ชัดเจนในการสราง
การเขาใจรับรู และยอมรับการดําเนินการตามกระบวนการยุติธรรมของรัฐ ของผูเคยเห็นต
างจากรัฐ
และครอบครัวเพื่อใหหน
วยระดับพื้นที่สามารถมีแนวทางที่ชัดเจน เป5นระบบและมีความต
อเนื่อง
abstract:
Abstract
Title : The creation of political participation process for thedissenting
population through transitional justice system for peaceful local
development in the 3 southernmost provinces supporting
National Security Strategy
Field : Strategy
Name : Col DirekDeeprasert Course (61) NDC Class (61)
This research has three objectives: 1) to analyze how to make former
dissenters, especially inmates and those convicted for national security charges, to
accept government justice processes, 2) to strengthen trust on government in order
to create enabling environment suitable for the population’s cooperation with the
state, and 3) to enable participation mechanism through transitional justice system
that can be used to develop Thailand 3 southernmost provinces. The research
extensively analyzes various concepts and theories including the royal guidance,
concepts of political participation, national security strategy, incubation and transitional
justice processes. The population of this research includes inmates, dissenters,
convicted persons, scholars, and also experienced military strategists. The research
employs qualitative methods. It is found that the intents of strategic
communicationneed to be more specified. This to ensure that the targeted audiences
can understand the officials’ intention to solve the conflict without using the means
of coercion, also trying to ensure safety for the population and limiting the freedom
of the perpetrators. It is also found that there has to be a thorough analysis of
strategic environment and strategic planning aiming at former dissenters and their
families in order for them to understand and accept the government justice processes.
The findingssuggest that the political participation should include the elements of 1)
partnership 2) sincerity 3) explosion from within 4, transparency, and 5 peace
building. It is suggested that insights from this research should be applied to
formulate national policies so that former dissenters accept government justice
processes and also the local authorities can have clear, systematic and sustainable
policy guidance.