เรื่อง: แนวทางเพิ่มประสิทธิภาพการดําเนินคดี อาชญากรรมคอมพิวเตอร์, (วปอ.8674)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการเมือง/Politics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายณัฐพงษ์ พุฒแก้ว, (วปอ.8674)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2561
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง แนวทางเพิ่มประสิทธิภาพการดําเนินคดีอาชญากรรมคอมพิวเตอร
ลักษณะวิชา การเมือง
ผูวิจัย นายณัฐพงษ พุฒแก%ว หลักสูตรวปอ.รุนที่ 61
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาสภาพป.ญหาและอุปสรรคในการดําเนินคดี
อาชญากรรมคอมพิวเตอรที่พบในชั้นการสืบสวนสอบสวน รวบรวมพยานหลักฐาน จนถึงขั้นตอนการ
นําเสนอพยานหลักฐานในชั้นพิจารณาของศาลเพื่อวิเคราะหป.จจัยที่ก4อให%เกิดสภาพป.ญหาและ
อุปสรรคในการดําเนินคดีอาชญากรรมคอมพิวเตอรในป.จจุบันและเพื่อเสนอแนะแนวทางเพิ่มประสิทธิภาพ
การดําเนินคดีอาชญากรรมคอมพิวเตอรโดยมีขอบเขตการวิจัยมุ4งเน%นมุ4งเน%นศึกษาป.ญหาและอุปสรรค
ในการดําเนินคดีอาชญากรรมคอมพิวเตอรในส4วนของการใช%เทคโนโลยีระบบคอมพิวเตอรในการ
กระทําความผิดที่สําคัญ โดยการรวบรวมข%อมูลปฐมภูมิจากวิธีการสัมภาษณข%อมูลเชิงลึกผู%ทรงคุณวุฒิ
ด%านการสืบสวนสอบสวน การตรวจพิสูจนทางนิติคอมพิวเตอรและการดําเนินคดีอาชญากรรม
คอมพิวเตอร พิจารณาประกอบกับข%อมูลทุติยภูมิจากการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข%อง ผลการวิจัยพบว4า
สภาพป.ญหาสําคัญในการดําเนินคดีอาชญากรรมคอมพิวเตอรมาจากป.จจัยสําคัญ ได%แก4 ป.จจัยด%าน
บุคลากรที่มีจํานวนไม4เพียงพอและขาดความรู%ด%านเทคนิคคอมพิวเตอร ป.จจัยด%านนิติคอมพิวเตอรที่มี
ประเด็นความกังวลด%านความน4าเชื่อถือของพยานหลักฐานที่มาจากการตรวจพิสูจนโดยซอฟทแวร
ที่ดาวนโหลดแหล4งข%อมูลเป<ด ป.จจัยด%านการประสานความร4วมมือระหว4างพนักงานสอบสวนและผู%ตรวจ
พิสูจนหลักฐานในเรื่องขอบเขตการตรวจพิสูจน และการไม4ได%รับความร4วมมือจากผู%ประกอบการ
ภาคเอกชน และป.จจัยด%านกฎหมาย ซึ่งพบว4าเจ%าพนักงานผู%ปฏิบัติงานมีความกังวลเกี่ยวกับอํานาจใน
การรวบรวมพยานหลักฐานดิจิทัลจากการความก%าวหน%าทางเทคโนโลยีของอุปกรณดิจิทัล
ดังนั้นผู%วิจัยจึงมีข%อเสนอแนะว4า ในระดับนโยบาย รัฐควรจัดทําการศึกษา วิเคราะห และ
จัดทําข%อเสนอแนะเกี่ยวกับการเลือกใช%ซอฟทแวรจากแหล4งข%อมูลเป<ดเพื่อช4วยเหลืองานด%านการตรวจ
พิสูจนนิติคอมพิวเตอร รวมทั้งพิจารณานําแนวทางบทบัญญัติตาม“Computer Misuse Act
(Chapter 50A) และ Criminal Procedure Code(Chapter 68) ของสาธารณรัฐสิงคโปรมาเปXน
แนวทางในการปรับปรุงกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาของไทย เพื่อแก%ไขป.ญหาความชอบด%วย
กฎหมายในการใช%อํานาจบางประการของเจ%าพนักงานในการรวบรวมพยานหลักฐานดิจิทัล ในระดับ
ปฏิบัติการ สํานักงานตํารวจแห4งชาติและสํานักงานอัยการสูงสุด ควรนําแนวทางการสร%างหลักสูตรบน
สื่ออิเล็กทรอนิกส (E-Learning) ตามแนวทางที่ INTERPOL – IGCI ของสาธารณรัฐสิงคโปรดําเนินการอยู4
มาปรับใช% นอกจากนี้ หน4วยงานผู%ปฏิบัติงานด%านอาชญากรรมคอมพิวเตอรควรร4วมกันกําหนดตัวอย4าง
แนวทางการกําหนดประเด็นและรูปแบบการร%องขอให%มีการตรวจพิสูจนพยานหลักฐานทางดิจิทัล
ให%เหมาะสมกับประเภทของฐานความผิดในคดี และสร%างกลไกส4งเสริมให%ผู%ประกอบการภาคเอกชน
เต็มใจให%ความร4วมมือเมื่อมีการร%องขอข%อมูลจากเจ%าพนักงานของรัฐ
abstract:
Abstract
Title Guidelines for Increasing Efficiency in Cybercrime Prosecution
Field Politics
Name Mr. NattapongPutkaewCourse NDC Class 61
This research is aimed at studying the problems and obstacles in
prosecuting cybercrimes found in the investigation stage, evidence gathering stage
and the stage of presenting evidence in the Court's trial; analyzing the factors that
cause problems and obstacles in the prosecution of cybercrimes, and giving
suggestions to improve the effectiveness of cybercrime prosecution. The scope of
the research focuses on the problems encountered in the prosecution of
cybercrimes, emphasizing on the use of computer system technology for committing
crimes, by methods of collecting primary data from in-depth interview with
investigators, computer forensics examiners and public prosecutors; and secondary
data from literature reviews. It is found that the main problems in cybercrime
prosecution are caused by several factors, such as insufficient number of expert
officials and lack of computer technical knowledge, the concerns of evidence that
comes from the examination carried out by software downloaded from open
sources, coordination between investigators and forensics examiners in the scope of
examination and the lack of cooperation from private entrepreneurs. Moreover,
competent officials tend to be worried about the power to collect digital evidence
as to the technological advancement of digital devices.
The researcher, therefore, has recommended that the State should
consider on producing recommendation guidelines on the selection of software from
open sources to assist in the investigation of computer forensics, and consider
amendments of Thai Criminal Procedure Code to be in line with the Computer
Misuse Act (Chapter 50A) and Criminal Procedure Code (Chapter 68) of the Republic
of Singapore in order to resolve the legality ambiguity of certain powers of officials to
collect digital evidence. At the operational level, the Royal Thai Police and the
Office of the Attorney General should adopt the E-Learning curriculum of the
INTERPOL-IGCI of the Republic of Singapore. Moreover, the law enforcement on
cybercrime should work together for making guidelines for determining issues and
forms for requesting the examination of digital evidence which are appropriate with
each related offence, and initiate mechanisms to encourage private entrepreneurs to
be willing to give good cooperation to officials.