Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การจัดทำโครงการและงบประมาณเพื่อเตรียมกำลังทางเรือ, (วปอ.8669)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการทหาร/Military
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พล.ร.ต.ณพ พรรณเชษฐ์, (วปอ.8669)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2561
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง การจัดท าโครงการและงบประมาณเพื่อเตรียมก าลังทางเรือ ลักษณะวิชา การทหาร ผู้วิจัย พลเรือตรี ณพ พรรณเชษฐ์ หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๑ กองทัพเรือได้มีการจัดท ายุทธศาสตร์และโครงสร้างก าลังรบของกองทัพเรือ ในห้วงการ ประเมินยุทธศาสตร์กองทัพเรือ พ.ศ.๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ โดยก าหนดแนวทางการเสริมสร้างก าลังรบให้ อยู่บนพื้นฐานของความเป็นไปได้ด้านงบประมาณ และสามารถยอมรับความเสี่ยงได้ แต่ในขั้นการ ปฏิบัติยังขาดการแปลงความต้องการก าลังรบตามยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติที่ดี ส่งผลกระทบต่อการ จัดท าโครงการและงบประมาณ ท าให้มีโครงการที่อยู่นอกแนวทางการเสริมสร้างก าลังรบตาม ยุทธศาสตร์ได้รับการจัดสรรงบประมาณในแผนงานยุทธศาสตร์ตามพระราชบัญญัติงบประมาณ รายจ่ายประจ าปีงบประมาณ ผลการวิจัยครั้งนี้ได้วิเคราะห์ปัญหา และเสนอแนวทางเพิ่มประสิทธิภาพการจัดท า โครงการและงบประมาณ เพื่อเตรียมก าลังทางเรือให้เป็นไปตามห้วงเวลาของยุทธศาสตร์ ได้แก่ ๑. จัดท าแผนเสริมสร้างก าลังรบตามยุทธศาสตร์กองทัพเรือระยะกลาง (๔ – ๖ ปี) ที่มีการก าหนดเป้าหมาย หรือขีดความสามารถที่ต้องการในห้วงเวลาของแผน โดยระบุรายการยุทโธปกรณ์ พร้อมความต้องการ งบประมาณงบประมาณ หน่วยรับผิดชอบโครงการ และระยะเวลาด าเนินการให้ชัดเจน ๒. ก าหนด แนวทางการจัดท าโครงการเสริมสร้างก าลังรบในลักษณะจากบนลงล่าง ๓. ปรับปรุงวิธีการจัดท าค าขอ งบประมาณของโครงการนอกโครงสร้างก าลังรบให้แยกออกจากโครงการเสริมสร้างก าลังรบ ในแผนงานยุทธศาสตร์ ส าหรับการน าแนวทางเพิ่มประสิทธิภาพการจัดท าโครงการและงบประมาณ เพื่อเตรียมก าลังทางเรือที่ได้จากการวิจัยครั้งนี้ไปใช้ จะต้องเปลี่ยนแปลงการปฏิบัติงานของหน่วย ในกองทัพเรือ และกระทบต่อการเสนอขอตั้งงบประมาณประจ าปี จึงจ าเป็นต้องมีการสื่อสารสร้าง ความเข้าใจในการปรับเปลี่ยนและมีเวลาเตรียมการอย่างเพียงพอ ปัจจัยอื่นที่ส าคัญที่สมควร มีการศึกษาเพิ่มเติมคือ การใช้จ่ายงบประมาณเพื่อรักษาระดับความพร้อมรบในปัจจุบันสัมพันธ์ กับการเสริมสร้างก าลังรบให้เป็นไปตามห้วงเวลายุทธศาสตร์

abstract:

Abstract Title Preparation of project and budget to build a naval forces Field Military Name Rear Admiral Nop Punnachet Course NDC Class 61 Royal Thai Navy has determined the strategy and naval forces structure. In the assessment of the naval strategy, (2017 – 2036) by establishing guidelines for strengthening the forces based on budgetary possibilities and can accept the risk But in the process of implementation, there is still a lack of transformation of strategic into practices affecting the preparation of project and budget Therefore, there are projects that are outside the guidelines for strengthening the capacity and forces structure, being allocated budget in the strategic plan of Budget Expenditure Act. The results of this research analyzed the problems. Are able to propose three strategies ways to increase the efficiency of project preparation and budget In order to build the naval force, namely (1) to formulate a strategic plan to strengthen the naval force structure according to the medium-term (4 to 6 years) that has a clear target or the desired capability in the interval of plan By specifying the equipment items with budget requirements and Project Responsible Unit (2.) Establish guidelines for preparation of fighting force project by top-down approach. (3.) Improve the method of preparing budget requests for present readiness projects to be separated from the strengthening project in the strategic plan. However, the implementation of guidelines for increasing the efficiency of project preparation and budgeting for the preparation of the naval forces obtained from this research must change the operation of the unit in the Navy and affect the proposal to set up an annual budget. Therefore, more communication to make understanding of adjustments and having sufficient time to set up. For other important factors that should be further studied is Budget expenditure in order to maintain the current level of readiness relation to strengthening the future force to be in time of the strategic plan.