เรื่อง: การพัฒนากิจการอุตสาหกรรมปองกันประเทศ, (วปอ.8668)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นางณฐมน บุนนาค, (วปอ.8668)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2561
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง แนวทางการกํากับและพัฒนาการดําเนินโครงการรถไฟฟา
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผูวิจัย นางณฐมณ บุนนาค หลักสูตร วปอ. รุนที่ ๖๑
ป&จจุบันป&ญหาการจราจรในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลได+ทวีความรุนแรงและส.งผล
กระทบต.อการเดินทางของประชาชนเป3นอย.างมาก และโดยที่รถไฟฟาขนส.งมวลชนเป3นระบบที่ตอบสนอง
การใช+ชีวิตของประชาชนในสังคมเมือง รัฐบาลจึงมีนโยบายเร.งรัดให+การรถไฟฟาขนส.งมวลชนแห.งประเทศ
ไทย (รฟม.) ดําเนินโครงการรถไฟฟาหลายเส+นทาง เพื่อพัฒนาโครงข.ายการคมนาคมขนส.งให+ครอบคลุม
ทั่วถึงในกรุงเทพมหานครและปริมณฑลเพื่อเป3นทางเลือกของประชาชน และเนื่องจากการก.อสร+าง
โครงการรถไฟฟาต+องอาศัยความร.วมมือจากหน.วยงานภาครัฐหลายแห.ง ทําให+มีความเสี่ยงสูงที่จะทําให+
การก.อสร+างโครงการเกิดความล.าช+า ส.งผลกระทบต.อค.าใช+จ.ายที่เพิ่มขึ้นซึ่งอาจไม.เพียงพอต.องบประมาณที่
ได+รับจัดสรรมา ความน.าเชื่อถือจากรัฐบาล และที่สําคัญคือช.วงการก.อสร+างโครงการจะทําให+การจราจร
หนาแน.นและติดขัดมาก ดังนั้นจึงได+ศึกษากระบวนการ ขั้นตอนการดําเนินโครงการรถไฟฟาและวิเคราะห>
ป&ญหาและอุปสรรคการดําเนินโครงการรถไฟฟา เพื่อจะได+หาแนวทางในการกํากับและพัฒนาการดําเนินการ
ก.อสร+างโครงการให+มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ในการศึกษานี้จะศึกษาเฉพาะการดําเนินโครงการรถไฟฟาของ
รฟม. ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล มีการเก็บข+อมูลปฐมภูมิโดยการสัมภาษณ >ผู+ทรงคุณวุฒิ
ผู+บริหารและผู+ที่มีส.วนได+ส.วนเสียในการดําเนินโครงการรถไฟฟา และข+อมูลทุติยภูมิโดยการศึกษาข+อ
กฎหมาย/มติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข+อง การรวบรวมเอกสารและข+อมูลต.างๆ ตลอดจนแนวทางปฏิบัติที่มี
การดําเนินงานที่ผ.านมา จากผลการศึกษาทําให+ทราบว.าป&ญหาและอุปสรรคในการดําเนินงานที่ส.งผลต.อ
ความสําเร็จของโครงการคือการจัดกรรมสิทธิ์ที่ดินและการขอใช+พื้นที่/ขอความร.วมมือจากหน.วยงาน
ภาครัฐที่เกี่ยวข+องเช.น กรุงเทพมหานครและกรมทางหลวง และทําให+ทราบแนวทางการกํากับและ
พัฒนาการดําเนินการโครงการรถไฟฟา กล.าวคือ รฟม.ควรมีการบริหารจัดการโครงการแบบบูรณาการ
ร.วมกับกรุงเทพมหานครและกรมทางหลวงตั้งแต.ขั้นตอนแรกของการดําเนินโครงการเพื่อจะได+ทราบว.ามี
โครงการใดซ+อนทับกับโครงการของ รฟม.หรือไม. ตลอดจนการรับฟ&งป&ญหาและข+อจํากัดด+านต.างๆ ทั้งด+าน
วิศวกรรม ด+านการจัดจราจรระหว.างการก.อสร+างรวมถึงมีประเด็นข+อกฎหมาย/ระเบียบในการขอใช+พื้นที่
ของหน.วยงานต.างๆ อย.างไร เพื่อจะได+ประสานงานหรือปรับแนวสายทาง และรฟม.จะได+มีข+อมูลที่ข
ครบถ+วนประกอบการศึกษาออกแบบรายละเอียดโครงการ ซึ่งจะทําให+ป&ญหาและอุปสรรคระหว.างการ
ก.อสร+างลดลง ซึ่งแนวทางดังกล.าวสามารถนําไปใช+ในการวางแผนการดําเนินโครงการอื่นของ รฟม. ใน
อนาคตได+
abstract:
ABSTRACT
Title : Strategies for supervision and development of the MRT project
Field : Economics
Name : Mrs. Natamon Bunnak Course NDC Class 61
In Bangkok and perimeter, the traffic congestion has been becoming
significantly worse and more widespread. Mass Rapid Transit (MRT) is a system that
addresses people's life in urban society. The government therefore has a policy to
expedite the Mass Rapid Transit Authority of Thailand (MRTA) to operate several MRT
projects to develop the transportation network to cover all areas in Bangkok and its
suburbs as an alternative. However, MRT project requires cooperation from many
government agencies, causing a high-risk construction delayed, increased costs, credibility
reduced, and the most important thing is worsening the traffic congestion. The purpose
of this study was to study the operating conditions, problems and obstacles in the
implementation that affect the success of the MRT project and to develop strategies to
support the MRT project development. Primary data were conducted from interviewing
experts, executives and stakeholders in the operation of the MRT project. In addition,
secondary data about laws, regulations, associated cabinet resolutions and related
documents were studied. It was demonstrated that problems and obstacles in the
implementation of the MRT project that affected the success are as follow: (1) Land
ownership arrangement and (2) Property usage request from relevant government
agencies especially Bangkok Metropolitan Administration (BMA) and the Department of
Highway (DOH). This study suggested that MRTA should have integrated project
management with BMA and DOH since the initiating phase in order to know which
projects are overlapping with as well as listening to various problems and limitations e.g.
engineering, traffic management, and legal issues. Consequently, MRTA and relevant
government agencies will have information for the study, design, and decision making to ง
develop the project together. Problems and obstacles about operating and coordination
during construction will be reduced. This approach could be used to plan the
implementation and further extended to other MRT projects in the future.