Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การเสริมสร้างความร่วมมือกับต่างประเทศในการรักษาผลประโยชนของชาติทางทะเลของ ศรชล., (วปอ.8666)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการทหาร/Military
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พล.ร.ต.เชิงชาย ชุมเชิงแพทย์, (วปอ.8666)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2561
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ เรื่อง การเสริมสร างความร วมมือกับต างประเทศในการรักษาผลประโยชน ของชาติทางทะเลของ ศรชล. ลักษณะวิชา การทหาร ผูวิจัย พลเรือตรี เชิงชาย ชมเชิงแพทย หลักสูตร วปอ. รุนที่ ๖๑ จากสภาพทางภูมิรัฐศาสตรของประเทศไทยมีอาณาเขตติดต อกับทะเลทั้ง ๒ ด าน ยังคงมีภัยคุกคามที่เกิดจากการกระทําของมนุษยและธรรมชาติเกิดขึ้นเสมอ ภัยคุกคามที่เกิดขึ้น ทางทะเลส วนใหญ มีลักษณะการเกิดเหตุข ามพรมแดน โดยใช ทะเลเป7นเส นทางในการ กระทําผิด (Transboundary Threats) ซึ่งรัฐใดรัฐหนึ่งไม สามารถรับมือได เพียงลําพัง ดังนั้น การสร างความร วมมือระหว างประเทศ จึงมีบทบาทสําคัญในการส งเสริมความมั่นคงและ ความปลอดภัยทางทะเล จากอํานาจหน าที่ของ ศรชล. ตาม พ.ร.บ.การรักษาผลประโยชนของชาติ ทางทะเลพ.ศ.๒๕๖๒ นั้น การจัดการภัยคุกคามรูปแบบใหม ในทะเลให มีประสิทธิภาพ ต องมีการ ปฏิบัติงานร วมกันระหว างหน วยงานบังคับใช กฎหมายในทะเลของต างประเทศอย างเข มแข็งต อเนื่อง ตั้งแต การประชุมระหว างหน วยงานจนถึงการประสานงานระหว างหน วยปฏิบัติในทะเล รวมถึง การแลกเปลี่ยนข อมูลข าวสารเพื่อการตรวจสอบ ติดตาม และประเมินสภาวะแวดล อม ด านความมั่นคงทางทะเลในทุกด าน สําหรับผลการวิจัยพบว า ประเด็นปMญหาและอุปสรรคในการสร างความร วมมือ กับต างประเทศขณะที่ ศรชล. ปฏิบัติงานในลักษณะศูนยประสานงาน ได แก การขาดนโยบายและ แผนงานระหว างประเทศที่ชัดเจน การขาดแคลนบุคลากรและภาระงานจากการปฏิบัติงาน สองหน าที่ การขาดแคลนงบประมาณเพื่อเสริมสร างความสัมพันธกับต างประเทศ การขาด สิ่งอํานวยความสะดวกและโครงสร างพื้นฐานเนื่องจากการปฏิบัติงานในลักษะศูนยประสานฯ และการขาดการประสานงานและการประชาสัมพันธที่เพียงพอกับผู ประกอบการ ดังนั้น แนวทางการเสริมสร างความร วมมือระหว างประเทศของ ศรชล. (ศูนยอํานวยการฯ) ที่เหมาะสม ได แก การกําหนดนโยบายและแผนงานด านการเสริมสร าง ความร วมมือทางทะเลระหว างประเทศให มีความชัดเจน การจัดตั้งกองงานที่รับผิดชอบงาน ด านต างประเทศขึ้นมา เป7นการเฉพาะเพื่อกําหนดนโยบายระหว างประเทศและติดตามและ ดําเนินคดีที่เกิดขึ้นนอกราชอาณาจักร การพัฒนาและขยายการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข อมูล ข าวสารผ านระบบ MDA กับประเทศต าง ๆ ให มากขึ้น การจัดกิจกรรมเพื่อเสริมสร างความร วมมือ ข ระหว างประเทศอย างเหมาะสม การฝVกอบรมกําลังพลเพื่อให มีความรู ความเข าใจเกี่ยวกับภัยคุกคาม ด านต าง ๆ รวมทั้งแนวทางและช องทางการประสานงานระหว างประเทศ การเสริมสร าง ความร วมมือกับประเทศเพื่อนบ านที่มีพื้นที่ทางทะเลติดกันกับพื้นที่ปฏิบัติการของ ศรชล.ภาค เพื่อการข าว อันจะนําไปสู การจัดวางกําลังทางเรือและอากาศยานได อย างเหมาะสม

abstract:

Abstract Title International Cooperation for Safeguarding National Maritime Interests of THAI-MECC Field Military Name Rear Admiral Cherngchai Chomcherngpat Course NDC Class 61 Maritime threats caused by human and nature are common in Thailand, given its geopolitical conditions which include two sea borders. Most maritime threats are transboundary threats committed at sea. In response to the threats, single-state measures are not sufficient. Therefore, creating international cooperation is crucial for strengthening maritime safety and security. According to the authority given by the Maritime National Interests Protection Act BE.2562, the THAI-MECC effectively responses to non-traditional maritime threats and strengthening close cooperation between foreign maritime law enforcement agencies must be developed. The cooperation mechanism includes interagency meetings and coordination between operational units at sea, covering intelligence exchange for monitoring, controlling and evaluating marine security environments in all aspects. The research found that, while THAI-MECC was operating as a coordinating center, issues and obstacles in developing cooperation with foreign countries are; unclear international policies and plans, personnel shortages and excessive workloads for personnel who work in two positions, lack of budget for fostering cooperation with foreign countries, inadequate facilities and infrastructures due to the limitation as coordinating center, and lack of cooperation and public relations with stakeholders. As a result, guidelines for strengthening the international cooperation of THAI-MECC (as a command center) are; formulation of clear policies and plans for strengthening international maritime cooperation, establishment of a division specifically responsible for foreign affairs to determine international policy and follow up on prosecutions occurring outside the state, developing and improving information sharing via the MDA system with foreign countries, organizing activities to strengthen international cooperation, personnel training on maritime threats and guidelines for international coordination, strengthening cooperation on intelligence exchange with neighboring countries surrounded to the area of operation of THAI￾MECC area command, which will contribute to effective operation of ships and aircrafts.