เรื่อง: การพัฒนากิจการอุตสาหกรรมปองกันประเทศ, (วปอ.8665)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี เชาวน์บูลย์ คงพูลศิลป์, (วปอ.8665)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2561
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง การพัฒนากิจการอุตสาหกรรมปองกันประเทศ
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผู'วิจัย พลตรี เชาวน)บูลย) คงพูลศิลป* หลักสูตร วปอ. รุนที่ ๖๑
เอกสารวิจัยฉบับนี้มีวัตถุประสงค เพื่อศึกษาการดําเนินงานด#านอุตสาหกรรมป%องกัน
ประเทศ ได#แก) กิจการอุตสาหกรรมป%องกันประเทศ โครงสร#าง กฎหมายที่เกี่ยวข#อง การพัฒนา
เทคโนโลยีอุตสาหกรรมป%องกันประเทศ การส)งเสริมอุตสาหกรรมป%องกันประเทศ การขายผลิตภัณฑ
การสร#างเครือข)ายความร)วมมือด#านอุตสาหกรรมป%องกันประเทศระหว)างกระทรวงกลาโหมกับหน)วยงานอื่น
ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และกลุ)มประเทศอาเซียนหรือมิตรประเทศ เพื่อให#เกิดแนวทางการบูรณาการ
การวิจัยพัฒนา และอุตสาหกรรมป%องกันประเทศของทุกภาคส)วนที่เกี่ยวข#อง สําหรับขอบเขตการวิจัย
ได#ทําการศึกษาเกี่ยวกับ ยุทธศาสตรชาติ (พ.ศ.๒๕๖๑ - ๒๕๘๐) นโยบายด#านความมั่นคง นโยบาย
ด#านวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีโดยเฉพาะนโยบาย “Thailand 4.0” ของรัฐบาลที่ต#องสร#างนวัตกรรม
จากการวิจัยพัฒนาไปสู)การผลิตเชิงอุตสาหกรรม นโยบายการตัดสินใจ “สร#างหรือซื้อ” (Make or Buy)
ซึ่งเปVนกลยุทธหนึ่งของการพัฒนาอุตสาหกรรมเป%าหมายที่กําหนดไว#ในแผนการพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห)งชาติ ฉบับที่ ๑๒ เพื่อให#การพัฒนาอุตสาหกรรมป%องกันประเทศตั้งอยู)บนพื้นฐานความ
ต#องการที่แท#จริงตามขีดความสามารถ ความเชี่ยวชาญ และศักยภาพของเหล)าทัพ โดยมุ)งไปสู)การผลิต
ใช#ในราชการ ลดการพึ่งพาจากต)างประเทศ และพัฒนาต)อยอดไปสู)การผลิตในเชิงอุตสาหกรรมโดย
การร)วมทุน ซึ่งวิธีดําเนินการวิจัยเปVนการวิจัยเชิงคุณภาพที่ใช#ข#อมูลปฐมภูมิและทุติยภูมิ โดยศึกษา
วิเคราะหจากเอกสารและการสัมภาษณผู#ทรงคุณวุฒิ ผลการวิจัยสรุปได#ว)า ระบบงานอุตสาหกรรม
ป%องกันประเทศ มีองคประกอบสําคัญ ๓ ส)วน ได#แก) กระทรวงกลาโหม หน)วยงานภาครัฐที่มีความ
คล)องตัวในการบริหารจัดการ และผู#ประกอบการภาคเอกชน เพื่อร)วมกันสร#างเครือข)ายความร)วมมือ
ระหว)างกระทรวงกลาโหมและภาคเอกชน ทั้งการให#ภาคเอกชนเปVนผู#ประกอบการภายใต#การกํากับ
ดูแลของกระทรวงกลาโหมและการร)วมลงทุน ซึ่งเปVนการดํารงสายการผลิตยุทโธปกรณทางทหาร
และลดการจัดสรรงบลงทุนสําหรับหน)วยผลิตของรัฐโดยการส)งเสริมการลงทุนของภาคเอกชน
ทั้งนี้กระทรวงกลาโหมจะต#องบูรณาการการผลิตยุทโธปกรณ ส)งเสริมผลงานวิจัยสู)การผลิต ตลอดจน
จัดตั้งองคกรกลางเพื่อรับรองมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมป%องกันประเทศ โดยกระทรวงกลาโหม
จะทําการผลิตอาวุธยุทโธปกรณเฉพาะรายการที่จําเปVนเพื่อความพร#อมรบ และสนับสนุนให#ภาคเอกชน
ดําเนินกิจการอุตสาหกรรมป%องกันประเทศเพื่อผลิตใช#ในราชการและเพื่อการพาณิชย โดยกําหนด ข
แนวทางการปฏิบัติออกเปVน ๔ ระยะ ดังนี้ ระยะที่ ๑ เปVนการปฏิรูปกรอบงานการกําหนดความต#องการ
และสร#างกลไกการถ)ายทอดองคความรู#และเทคโนโลยี ระยะที่ ๒ เปVนการเสริมสร#างความเข#มแข็ง
ในด#านการมาตรฐานทางทหารและการนําต#นแบบงานวิจัยไปสู)การผลิตใช#ในราชการและต)อยอด
เพื่อการพาณิชย ระยะที่ ๓ เปVนการส)งผ)านการผลิตและซ)อมบํารุงยุทโธปกรณไปสู)ภาคเอกชน
และระยะที่ ๔ เปVนการสร#างความยั่งยืนโดยภาคเอกชนเปVนฐานการผลิตเพื่อการส)งออก
abstract:
Abstract
Title Defence Industry Development
Field Economics
Name Major General Chaawboon Kongpoolsilpa Course NDC Class 61
The purpose of this research paper was to study the defence industry
implementation including defence industry defence business, structure, related acts,
defence industry technology development, defence industry promotion, trading, defence
industry cooperation network establishment between governmental organizations, public
sector, and ASEAN Member States oralliances in order to create R&D and defence industry
integration from every related sectors.
In term of scope, it emphasized on the national strategy (B.E.2561 - B.E.2580),
defence policy, science and technology strategy especially “Thailand 4.0” which was
designed by the government to promote R&D innovations that led to industrialization.
Moreover, there is another policy called “Make or Buy” whichwas also a strategy for
targeted industries stated in “The 12th National Economic and Social Development Plan”
with the aim for developing defence industry based on true demands, capability,
expertise, and military potential that led to military usage , import reduction, and joint
venture industrialization.
The research was conducted with primary and secondary data through study
and analysis of documents and exclusive interviews. As a result, it can be concluded that
Thailand defence industry comprises of 3 important parts including Ministry of Defence,
agile governmental organizations, and entrepreneurs which all together created a network
of cooperation between government sector and private sector.Private sector, as
entrepreneurs would have been either monitored and restricted by the government or by
the frame of joint venture just to maintain the military production capability and decrease
production budget by promoting private sector investment.
Ministry of Defence was responsible for integrating defence production,
promoting prototypes to industrialization, and establishing a military standardization unit
for certifying defence industry production. To demonstrate, Ministry of Defence played an
important role in defence products only that considered as needed in order to maintain
combat readiness and supported private sector for military requirements and for
commercial. For this result, an implementation plan which comprised of 4 phases. Phase
1, reform framework requirements and mechanism of knowledge and technology transfer.
Phase 2, strengthen military standard and industrialize prototypes for military usage and
commercial. Phase 3, transfer production and maintenance to private sector. And Finally,
Phase 4, sustain private sector to be the production base for export.