Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมระบบอัตโนมัติและหุ่นยนต์, (วปอ.8662)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเศรษฐกิจ/Economics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายชาตรี ลิ้มผ่องใส, (วปอ.8662)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2561
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ เรื่อง แนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมระบบอัตโนมัติและหุนยนต ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ ผู(วิจัย นายชาตรี ลิ้มผองใส หลักสูตร วปอ. รุนที่ 61 ยุทธศาสตร ชาติ 20 ป และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห#งชาติ ฉบับที่ 12 ได+ให+ ความสําคัญกับการกําหนดทิศทางการพัฒนาที่ต+องการเปลี่ยนผ#านประเทศไทยจากประเทศที่มี รายได+ปานกลางไปสู#ประเทศที่มีรายได+สูงอย#างมั่นคงและยั่งยืนโดยที่สังคมอยู#ร#วมกันอย#างมีความสุข และนําไปสู#วิสัยทัศน ของประเทศ คือ “มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” โดยการปรับโครงสร+างการผลิต ภาคอุตสาหกรรมมุ#งเน+นการพัฒนา 2 กลุ#มอุตสาหกรรมควบคู#กัน คือ1.อุตสาหกรรมที่ต#อยอดจาก ศักยภาพหรือจุดแข็งป:จจุบันของประเทศ2. อุตสาหกรรมที่รองรับแนวโน+มการเปลี่ยนแปลงใหม#ของ บริบทโลก (New S-curve) เพื่อเปFนการรักษาความสามารถในการแข#งขันของประเทศรายงานนี้จึง ศึกษาหาแนวทางการเพิ่มศักยภาพของอุตสาหกรรมไทย ด+วยระบบการผลิตแบบอัตโนมัติ (Manufacturing Automation System) ของประเทศไทย รายงานฉบับนี้เปFนการศึกษาการพัฒนาระบบอัตโนมัติและหุ#นยนต ของไทยที่ผ#านมา เปรียบเทียบกับประเทศตัวอย#าง 3 ประเทศ คือ ญี่ปุWน ไต+หวัน และ เกาหลีใต+ หาจุดแข็ง จุดอ#อน โอกาส และภัยคุกคาม รวมทั้งป:ญหาและอุปสรรค ของผู+ประกอบการระบบอัตโนมัติและหุ#นยนต ของ ไทย ทั้งนี้จากการศึกษาพบว#าผู+ประกอบการอุตสาหกรรมของไทยป:จจุบันได+ให+ความสนใจในระบบ อัตโนมัติมากขึ้นเนื่องจากค#าแรงที่สูงขึ้น การขาดแคลนแรงงาน ตลาดต+องการสินค+าที่มีคุณภาพสูง และสม่ําเสมอกว#าเดิม สําหรับผู+ประกอบการระบบอัตโนมัติและหุ#นยนต ของไทยส#วนใหญ#มี ความสามารถในการซ#อมบํารุงระบบ และการออกแบบระบบอัตโนมัติให+ระบบทํางานร#วมกันได+ แต# เปFนการซื้อเครื่องจักรและอุปกรณ เข+ามาประกอบเปFนระบบการผลิตที่ต+องการ ประเทศไทยยังขาด ผู+ผลิตชิ้นส#วนอุปกรณ ที่สําคัญที่ใช+ในระบบอัตโนมัติและหุ#นยนต รวมทั้งขาดแคลนแรงงานที่มี คุณภาพโดยเฉพาะแรงงานในระดับอาชีวะศึกษา ในส#วนสุดท+ายของรายงานได+มีข+อเสนอแนะทั้งในระยะสั้นและระยะกลางและ มาตรการที่สําคัญที่จะเร#งพัฒนาอุตสาหกรรมระบบการผลิตอัตโนมัติให+สามารถแข#งขันได+ในระดับ ภูมิภาคและระดับสากลของโลกต#อไปอย#างมั่นคงและยั่งยืน

abstract:

Abstract Title : An Approach for Automation and RoboticsIndustryDevelopment Field : Economics Name Mr.Chatri Limpongsai Course NDC Class61 The 20-year national strategy and the 12th National Economic and Social Development Plan focus on the development that needs to change Thailand from a middle-income country to a sustainable high-income country. “Stable, Prosperous, Sustainable” is stated as the vision of the strategy.In order to maintain the country's competitiveness, the country has to restructuring the manufacturing sector, focusing on the development in2 industries:1)the current strength Industry of the country2)new industries in the global context (New S-curve).This report is therefore looking for ways to increase the competitiveness of Thai industrythrough Automation System. This report studies the development of Thai automation and robotics bycomparing with three sample countries:Japan, Taiwan and South Korea. This paper alsoshows strengths, weaknesses, opportunities and threats, including problems and hurdles of Thai automation and robotics.Therefore, this study reveals that Thai industries,nowadays, are increasingly interested in automation due to higher wages,labor shortage, high and consistentquality of products are needed.Most Thai automation and robotics operators have the ability inmaintenance the automation system and system integration.They assembledthe system by purchase of machinery and equipment. Thailand still lacks of key equipment manufacturer.A shortage of qualified workers, especially vocational workers, is also a major problem. In the last part of the paper proposes both short and medium term recommendationand important measures to accelerate the development of automation and roboticsforsustainably competingboth at the regional and international level.