เรื่อง: การปรับปรุงหลักการและแนวทางการกํากับดูแลกิจการที่ดี ในรัฐวิสาหกิจ, (วปอ.8660)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติเศรษฐกิจ/Economics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายชาญวิทย์ นาคบุรี, (วปอ.8660)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2561
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง การปรับปรุงหลักการและแนวทางการกํากับดูแลกิจการที่ดีในรัฐวิสาหกิจ
ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ
ผู&วิจัย นายชาญวิทย( นาคบุรี หลักสูตร วปอ. รุนที่ 61
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษานโยบายที่เกี่ยวของทั้งในภาพรวมของประเทศ
นโยบายของกระทรวงการคลังโดยสํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ พรอมทั้งศึกษา
หลักการและแนวทางปฏิบัติตามมาตรฐานสากลที่เกี่ยวกับการกํากับดูแลที่ดีที่ควรนํามาเป+นกรอบ
แนวคิดหลักการกํากับดูแลที่ดีสําหรับรัฐวิสาหกิจในกํากับดูแลของ สคร. ซึ่งไดแก/ การศึกษาหลักการ
และแนวทางการปฏิบัติการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจ ป* 2015 ขององคการเพื่อความร0วมมือทาง
เศรษฐกิจและการพัฒนา (Organization for Economic Cooperation and Development (OECD))
หลักการกํากับดูแลที่ดีในรัฐวิสาหกิจของธนาคารโลก (World Bank) หลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี
สําหรับบริษัทจดทะเบียน ป* 2560 ของสํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพยและตลาดหลักทรัพย
(Corporate Governance Code for listed companies 2017) และการศึกษาหลักการกํากับดูแล
กิจการที่ดีสําหรับบริษัทจดทะเบียน ป* 2555 ของตลาดหลักทรัพยแห0งประเทศไทย (The Principles of
Good Corporate Governance for listed companies 2012) โดยในแต0ละแหล0งที่ไดVศึกษา มีการ
กําหนดหลักการและแนวทางปฏิบัติที่ดีไวVหลายเรื่อง เช0น กรรมการ ผูVบริหารระดับสูง ความยั่งยืนและ
นวัตกรรม การเปYดเผยขVอมูล สิทธิและความเท0าเทียมของผูVถือหุVน บทบาทของผูVมีส0วนไดVเสีย
จรรยาบรรณ การบริหารความเสี่ยง การควบคุมภายใน และการติดตามผลการดําเนินงาน
ผูVวิจัยไดVนําขVอมูลจากแหล0งต0างๆ ขVางตVน พรVอมทั้งขVอมูลที่ไดVจากการสัมภาษณรัฐวิสาหกิจ
บางส0วนมาเทียบกับหลักการและแนวทางการกํากับดูแลที่ดีของรัฐวิสาหกิจ ป* 2552 เพื่อทําการทบทวน
และปรับปรุงหลักการและแนวทางการกํากับดูแลที่ดีของรัฐวิสาหกิจ ใหVเป\นป]จจุบัน เหมาะสม และ
สอดคลVองกับมาตรฐานสากลทั้งในและต0างประเทศมากยิ่งขึ้น
ในส0วนของผลการศึกษา ผูVจัดทําวิจัยไดVนําเสนอการปรับปรุงหลักการและแนวทางการ
กํากับดูแลที่ดีของรัฐวิสาหกิจ ใหVเป\นป]จจุบัน เหมาะสม และสอดคลVองกับมาตรฐานสากลทั้งในและ
ต0างประเทศมากยิ่งขึ้น และใหVมีแนวปฏิบัติที่ชัดเจนมากยิ่งขึ้น โดยไดVนําเสนอหลักการและแนวทางการ
กํากับดูแลที่ดี ฉบับปรับปรุง โดยปรับปรุงเพิ่มเติมจากหลักการในป* 2552 จํานวน 6 หมวด เพิ่มเป\น 9
หมวด ไดVแก0 1) บทบาทของภาครัฐ 2) คณะกรรมการ 3) ความยั่งยืนและนวัตกรรม 4) สิทธิและความเท0าก
เทียมกันของเจVาของกิจการ/ผูVถือหุVน 5) การเปYดเผยขVอมูล 6) บทบาทของผูVมีส0วนไดVส0วนเสีย
7) จรรยาบรรณ 8) การบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน และ 9) การติดตามผลการดําเนินงาน
โดยสรุป การสนับสนุนใหVรัฐวิสาหกิจนําหลักการและแนวทางการกํากับดูแลที่ดีของ
รัฐวิสาหกิจไปปฏิบัติจะช0วยใหVรัฐวิสาหกิจมีศักยภาพ ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการดําเนินงาน
มีความโปร0งใสและตรวจสอบไดV เพื่อใหVรัฐวิสาหกิจเป\นกําลังสําคัญในการสนับสนุนความมั่นคง
ทางเศรษฐกิจของประเทศไทยอย0างมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืนต0อไป
abstract:
Abstract
Title The Revision of Principles and Guidelines on Corporate
Governance of Thai State-Owned Enterprises
Field Economics
Name Mr. Chanvit Nakburee Course NDC Class 61
This research aims to study policies of Thailand, policies of Ministry of
Finance (i.e. the State Enterprise Policy Office (SEPO)) and principles and guidelines
related to corporate governance that can be applied and used as framework for
corporate governance on Thai state-owned enterprises (SOEs). The international and
domestic standards on corporate governance which this research focuses on include
G20/OECD Principles of Corporate Governance, Corporate Governance: a framework
for implementation of the World Bank, Corporate Governance Code for listed
companies 2017 of the Securities and Exchange Commission of Thailand, and the
Principles of Good Corporate Governance for listed companies 2012 of The Stock
Exchange of Thailand. Each of them has principles and guidelines such as the
responsibilities of the board and CEO, sustainability and innovation, disclosure and
transparency, the rights and equitable treatment of shareholders and key ownership
functions and the role of stakeholders in corporate governance.
The researcher collects information from the above sources and from
SOEs’ interviews, and then compares with the SEPO’s Principles and Guidelines on
corporate governance 2009 in order to revise and update the SEPO’s Principles and
Guidelines on corporate governance into a new version so that the SEPO’s Principles
and Guidelines on corporate governance is consistent with the international and
domestic standards on corporate governance. The updated version includes 9
sections which are 1) the role of government, 2) the responsibilities of the board, 3)
sustainability and innovation, 4) the rights and equitable treatment of shareholders
and key ownership functions, 5) disclosure and transparency, 6) the role of
stakeholders in corporate governance, 7) ethics, 8) risk management and internal
audit, and 9) performance evaluation.
In sum, supporting SOE to adopt principles and guidelines on corporate
governance enhances SOEs’ potentials, efficiency and effectiveness of their
performance so that SOEs can bring about Thailand’s stability, wealth, and
sustainability.