เรื่อง: แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นําเชิงวิสัยทัศน์ของผู้บริหาร สถานศึกษาระดับอาชีวศึกษาสังกัดกระทรวงกลาโหม, (วปอ.8655)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติยุทธศาสตร์/Strategy
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พล.ต. ชวนากร ผดุงกิจ, (วปอ.8655)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2561
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง แนวทางการพัฒนาภาวะผูนําเชิงวิสัยทัศนของผูบริหารสถานศึกษา
ระดับอาชีวศึกษาสังกัดกระทรวงกลาโหม
ลักษณะวิชา ยุทธศาสตร
ผูวิจัย พลตรี ชวนากร ผดุงกิจ หลักสูตรวปอ. รุนที่61
การศึกษาวิจัย เรื่องแนวทางการพัฒนาภาวะผูนําเชิงวิสัยทัศนของผูบริหารสถานศึกษา
ระดับอาชีวศึกษาสังกัดกระทรวงกลาโหม มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาการบริหารจัดการและภาวะผูนําเชิง
วิสัยทัศนเพื่อการบริหารจัดการสถาบันอาชีวศึกษา สังกัดกระทรวงกลาโหมป1ญหาอุปสรรคที่สําคัญ
ของการบริหารจัดการและผูนําเชิงวิสัยทัศนในการบริหารจัดการสถาบันอาชีวศึกษา สังกัด
กระทรวงกลาโหมและกําหนดแนวทางการพัฒนาภาวะผูนําเชิงวิสัยทัศนเพื่อการบริหารจัดการสถาบัน
อาชีวศึกษา สังกัดกระทรวงกลาโหมโดยใชระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ การศึกษาทฤษฎี แนวคิดดาน
การศึกษา และเอกสารที่เกี่ยวของ ผลจากการศึกษาพบว7า คุณลักษณะของผูนําเชิงวิสัยทัศน
ประกอบดวย 1) Holistic 2) Interactive 3) Insightful 4) Speculative และ 5) Imaginative โดย
มีป1จจัยหรือสาเหตุของภาวะผูนําเชิงวิสัยทัศนของผูบริหารอาชีวศึกษา สังกัดกระทรวงกลาโหม
ประกอบดวย ความฉลาดทางอารมณ ภาวะผูนําเชิงวิสัยทัศน การสื่อสาร ความคิดสรางสรรค และ
บรรยากาศองคการ ซึ่งป1ญหาอุปสรรคที่สําคัญของผูบริหารอาชีวศึกษา สังกัดกระทรวงกลาโหม ไดแก7
การปฏิบัติงานในตําแหน7ง การวางตน การสรางศรัทธาใหเปUนที่ยอมรับ ป1ญหาดานการบริหาร
งบประมาณ และวิสัยทัศนผูบริหารอาชีวศึกษา สังกัดกระทรวงกลาโหม ยังไม7ชัดเจน ประกอบกับ
โครงสรางองคกรมีความซับซอนมากเกินไป ขาดความเชื่อในการทํางานเปUนทีม ซึ่งคุณลักษณะภาวะ
ผูนําการเปลี่ยนแปลงในสถาบันอาชีวศึกษา สังกัดกระทรวงกลาโหม ตองมี 6 ประการ ไดแก7 การมี
วิสัยทัศน (Being visionary) การเชื่อว7าโรงเรียนเปUนสถานที่เพื่อการเรียนรู (Believing that school
are for learning) การใหคุณค7าต7อทรัพยากรมนุษย (Valuing human resources) การมีทักษะการ
สื่อสารและการรับฟ1งอย7างมีประสิทธิผล (Communicating and listening effectively) การมี
พฤติกรรมเชิงรุก (Being proactive) และการมีความกลาเสี่ยง (Taking risks) และแนวทางการ
พัฒนาภาวะผูนําเชิงวิสัยทัศนเพื่อการบริหารจัดการสถาบันอาชีวศึกษา สังกัดกระทรวงกลาโหม คือ
การพัฒนาวิสัยทัศน คือ ขั้นตอนที่ 1 การรวบรวมขอมูลและจัดการกับขอมูลขั้นตอนที่ 2 การสราง
สถานศึกษาเพื่อการเรียนรูขั้นตอนที่ 3 การปฏิบัติต7อทรัพยากรมนุษยในองคกร และขั้นตอนที่ 4 การ
พัฒนาทักษะการสื่อสารและการรับฟ1งในองคกร
abstract:
ABSTRACT
Title Guidelines to enhance vocational administrator’s leaderships in
vocational school, The Ministry of Defense: A study in aspect of
leadership’s attitudes
Field Social - Psychological
Author Major general ChavanakornPadungkitCourse NDCClass 61
The present study aims to investigate vocational administrator’s
leaderships in attitude aspect, problems and obstacles and guidelines to enhance
vocationaladministrator’s leaderships in vocational school, The Ministry of Defense
context. The qualitative analysis was applied to the study including theoretical
reviewing and related studies. The results reveal that administrator’s leaderships
pertaining to attitude aspect consist of being 1) Holistic 2) Interactive 3) Insightful 4)
Speculative and 5) Imaginative. Stimulating factors are emotional intelligence and proper
attitudes towards administrator’s leaderships, communication, imagination and working
atmosphere. On the other hand, problems interrupting these qualities are the current
vocational administrator’s leaderships, improper manners, financial management, obscure
visionary and complicated hierarchy system.
There are six qualifications for administrators to obtain good leaderships
which are being visionary, the belief that school is the place for learning, the appreciation
in human resources, effective communication, being proactive and risk taking. The
present research also suggests implementation system to enhance vocational
administrator’s leaderships. This system comprises of step 1: data administration, step 2:
creating learning atmosphere, step 3: the interaction within organization and developing
effective communication skills.And Step 4: developing communication and listening skills
in the organization