Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของภาคอุตสาหกรรม ในพื้นที่ของโครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (อีอีซี) โดยการปรับปรุงโครงสร้างราคาจำหน่ายน้ำดิบ, (วปอ.8649)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเศรษฐกิจ/Economics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายจิรายุทธ รุ่งศรีทอง, (วปอ.8649)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2561
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของภาคอุตสาหกรรมในพื้นที่ ของโครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (อีอีซี) โดย การปรับปรุงโครงสร้างราคาจ้าหน่ายน้้าดิบ ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ ผู้วิจัย นายจิรายุทธ รุ่งศรีทอง หลักสูตร วปอ. รุ่นที่ ๖๑ บริษัท จัดการและพัฒนาทรัพยากรน้้าภาคตะวันออก จ้ากัด (มหาชน) หรือ อีสท์วอเตอร์ (“บริษัท”) เป็นผู้รับผิดชอบการพัฒนา บริหารจัดการและดูแลบ้ารุงรักษาระบบท่อส่งน้้าสายหลักในพื้นที่ ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกเพียงรายเดียว โดยด้าเนินการผันน้้าจากอ่างเก็บน้้าของกรมชลประทาน แม่น้้า บางปะกง แหล่งน้้าที่บริษัทพัฒนาและแหล่งน้้าเอกชน เพื่อจัดส่งและจ้าหน่ายน้้าให้กับภาคอุตสาหกรรม และภาคอุปโภคบริโภคในพื้นที่ภาคตะวันออก ปัจจุบันบริษัทได้มีการใช้โครงสร้างราคาค่าน้้าดิบแบบ อัตราเดียว (Uniform Tariff) โดยจ้าแนกตามประเภทผู้ใช้น้้า เช่น นิคมอุตสาหกรรม โรงงานทั่วไปและ กิจการประปา เป็นต้น ซึ่งเป็นรูปแบบการก้าหนดโครงสร้างราคาที่ไม่เป็นไปตามมาตรฐานสากลและไม่ สะท้อนถึงต้นทุนที่เกิดขึ้นจริง บริษัทจึงเล็งเห็นความส้าคัญในการปรับโครงสร้างราคาจ้าหน่ายน้้าดิบให้มี วิธีการก้าหนดราคาอย่างเป็นมาตรฐานสากล สอดคล้องตามยุทธศาสตร์ชาติที่มุ่งเน้นการบริหารจัดการน้้า ให้เกิดความมั่นคงในเสถียรภาพ อันน้าไปสู่อัตราราคาน้้าดิบที่เป็นธรรม เพื่อเสริมศักยภาพทางการแข่งขัน ให้แก่ภาคอุตสาหกรรมในพื้นที่โครงการพัฒนาระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก (อีอีซี) บริษัทได้ศึกษาข้อมูลจากเอกสารที่เกี่ยวข้องและการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างในพื้นที่ที่ ให้บริการ เพื่อน้ามาวิเคราะห์รูปแบบการก้าหนดโครงสร้างราคาที่เหมาะสม โดยใช้วิธีการก้าหนด โครงสร้างราคาแบบหลายระดับราคา (Multi-Part Tariff) ให้มีความยืดหยุ่นตามต้นทุนที่เกิดขึ้นจริงจาก การลงทุนและต้นทุนการด้าเนินงานตามพฤติกรรมการใช้น้้าของผู้ใช้น้้าแต่ละราย โดยมีการสร้างภาระ ผูกพันจากการก้าหนดปริมาณการใช้น้้าดิบขั้นต่้า (Minimum Guarantee on Demand) เพื่อลดการ ประเมินความต้องการใช้น้้าที่สูงกว่าความต้องการใช้น้้าจริง ส่งผลให้ลดโอกาสเกิดการลงทุนที่เกินความ จ้าเป็น ซึ่งจะสะท้อนให้มีการก้าหนดอัตราราคาจ้าหน่ายน้้าดิบที่เป็นธรรมต่อผู้ใช้น้้ามากขึ้นและให้บริหาร จัดการน้้าได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น ทั้งนี้ การก้าหนดโครงสร้างราคาจ้าหน่ายน้้าดิบแบบหลายระดับราคา (Multi-Part Tariff) โดยให้มีปริมาณการใช้น้้าขั้นต่้า (Minimum Guarantee on Demand) นั้น มีปัจจัยด้านพฤติกรรมการใช้ น้้าของผู้บริโภคเป็นส่วนหนึ่งในการก้าหนดอัตราราคา ซึ่งการเปลี่ยนแปลงด้านพฤติกรรมเป็นการข เปลี่ยนแปลงที่ต้องการความร่วมมือจากทุกภาคส่วน โดยการสร้างพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างเห็นได้ ชัดนั้น อาจต้องการระยะเวลาเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม แต่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของ ภาคอุตสาหกรรมในครั้งนี้จะสร้างความยั่งยืนในทรัพยากรธรรมชาติของประเทศและเสริมศักยภาพ ทางการแข่งขันของภาคอุตสาหกรรมของประเทศให้มีความแข็งแกร่งมากยิ่งขึ้น

abstract:

Abstract Title Enhance the Competitiveness of Industrial Sector in the Eastern Economic Corridor (EEC) by Reforming Raw Water Tariff Structure Field Economics Name Mr. Jirayut Rungsrithong Course NDC Class 61 Eastern Water Resources Development and Management Public Company Limited (“East Water” or the “Company”) is solely responsible for developing, managing, and maintaining of the main raw water supply network in the eastern seaboard region of Thailand. The Company supplies raw water from key reservoirs of the Royal Irrigation Department, Bangpakong River, its own reservoirs, and various privately-owned reservoirs to industrial and household sectors in the EEC area. The Company currently uses a uniform tariff structure to set the raw water prices based on different types of users: industrial estates, general factories, public waterworks. The existing uniform tariff structure is not according to industry standard and does not reflect the actual costing structure of the Company. The Company’s primary focus is therefore on reforming the tariff structure for raw water according to pricing standard for utilities. This tariff structure reform represents the opportunity to support Thailand 20-Year National Strategy in creating water supply security which will facilitate fair and appropriate raw water tariff and enhance the competitiveness of industrial sector in the EEC area. This thesis analyzes information gathered from relevant studies and data collected from sample group of the current raw water users to design alternative tariff structures. The proposed new tariff structure is based on Multi-Part Tariff methodology which not only reflects the Company’s actual costing structure resulting from its investments and operating costs, but also demand patterns of users. The Multi-Part Tariff structure forges water usage commitment through “Minimum Guarantee on Demand” mechanism to abstain from users’ overestimated demand requests and to avoid the Company’s unnecessary over-investments, which will in turn result in fair and appropriate level of raw water pricing and efficient management of overall water supply.The proposed Multi-Part Tariff Structure with minimum guarantee on demand scheme is predicated on the demand patterns of the users and the cooperation from all related parties. The demand patterns require time for adjustments but will nonetheless create sustainability and enhance the competitiveness of Thailand’s industrial sector.