Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การผลิตอาวุธยุทโธปกรณ์เชิงพาณิชย์ในกรอบยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ปี, (วปอ.8648)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเศรษฐกิจ/Economics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พล.ต. จิรวิทย์ เดชจรัสศรี, (วปอ.8648)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2561
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ เรื่อง การผลิตอาวุธยุทโธปกรณเชิงพาณิชยในกรอบยุทธศาสตรชาติ ๒๐ป ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ ผูวิจัย พลตรี จิรวิทย เดชจรัสศรี หลักสูตร วปอ. รุนที่ ๖๑ เนื่องจากสถานการณการเมืองระดับโลกมีการเปลี่ยนแปลงไปมาก ความช0วยเหลือจาก ประเทศใหญ0 ๆ ที่เคยให4การสนับสนุนจํานวนมากลดน4อยลง แต0การเตรียมความพร4อมให4กับกองทัพ ของประเทศยังคงมีอยู0จึงส0งผลให4ต4องจัดสรรงบประมาณของประเทศจํานวนหนึ่งมาใช4ในกับอาวุธ ยุทโธปกรณต0าง ๆ ซึ่งการพึ่งตนเองจึงมีความจําเป:น แม4ว0าอุตสาหกรรมป;องกันประเทศในประเทศ ไทยเพิ่งเกิดขึ้นไม0นาน แต0การเริ่มต4นการพัฒนาโดยมีการวางแผนและกําหนดทิศทางที่ชัดเจนสามารถ เป:นทางออกให4กับประเทศได4ในอนาคต เป:นที่ทราบกันดีว0าอุตสาหกรรมป;องกันประเทศ คือป>จจัยสําคัญในการส0งเสริมความ มั่นคงและการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจให4กับประเทศนั้น ๆ แต0สําหรับประเทศไทยแล4ว อุตสาหกรรม ป;องกันประเทศกลับกลายเป:นอุตสาหกรรมที่ไม0ปรากฏชื่อในระบบอุตสาหกรรมของประเทศไทย ในขณะที่หลาย ๆ ประเทศได4ให4ความสําคัญอย0างมากต0ออุตสาหกรรมป;องกันประเทศ เช0น กลุ0ม ประเทศที่จัดอยู0ในกลุ0มประเทศชั้นนํา หรือ “First Tier” ซึ่งเป:นประเทศที่มีอุตสาหกรรมป;องกัน ประเทศสมบูรณแบบและครบวงจร สามารถพัฒนาองคความรู4ต0อยอดได4ถึงระดับสูงสุด เช0น ประเทศ สหรัฐอเมริกา รัสเซีย จีน และกลุ0มประเทศยุโรปตะวันตก ส0วนกลุ0มประเทศที่จัดอยู0ในชั้นที่ ๒ หรือ “Second Tier” ที่มีอุตสาหกรรมป;องกันประเทศครบวงจร แต0ยังไม0สามารถพัฒนาองคความรู4ต0อ ยอดได4ถึงระดับสูงสุดด4วยข4อจํากัดบางประการ เช0น ข4อจํากัดด4านเศรษฐกิจ หรือการเมือง ตัวอย0าง ประเทศในกลุ0มนี้ ได4แก0 ประเทศเกาหลีใต4 อินเดีย บราซิล อารเจนติน0า อิสราเอล ออสเตรเลีย สิงคโปร แคนาดา และแอฟริกาใต4 โดยภาคอุตสาหกรรมป;องกันประเทศของทั้งสองกลุ0มนี้ มีขนาด ใหญ0สามารถนํารายได4เข4าประเทศอย0างมหาศาล นอกจากนี้ยังสร4างความมั่นคงในลักษณะของการ พึ่งพาตนเองได4อีกด4วย สําหรับประเทศไทย จัดอยู0ในกลุ0มชั้นที่ ๓ หรือ “Third Tier” ซึ่งมีความสามารถที่จะ ผลิตยุทโธปกรณได4เพียงบางส0วน เนื่องจากสถานภาพของอุตสาหกรรมป;องกันประเทศของไทยใน ป>จจุบันเป:นอุตสาหกรรมขนาดเล็ก มีขีดความสามารถเพียงเพื่อการซ0อมบํารุง และสร4างอาวุธ ยุทโธปกรณบางประเภทสนับสนุนให4แก0กองทัพเท0านั้น หากพิจารณาจํานวนโรงงานอุตสาหกรรม ป;องกันประเทศในสังกัดกระทรวงกลาโหม ซึ่งมีจํานวน ๔๘ โรงงาน โดยอยู0ในสังกัดของกองทัพบก ๒๑ โรงงาน กองทัพเรือ ๗ โรงงาน กองทัพอากาศ ๑๒ โรงงาน กองบัญชาการกองทัพไทย ๑ โรงงาน ข และสํานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ๘ โรงงาน นอกจากนี้ยังมีอุตสาหกรรมป;องกันประเทศใน ภาคเอกชนอีกประมาณ ๖๐ บริษัท ซึ่งส0วนมากเป:นบริษัทที่รับซ0อมแซม ปรับปรุง หรือผลิต ยุทโธปกรณทางทหารบางประเภท เช0น วัตถุระเบิด เชื้อปะทุ กระสุนปVน รถยนตนั่งกันกระสุน ยานพาหนะช0วยรบ เสื้อเกราะป;องกันกระสุน แอมโมเนียมไนเตรต ไนโตรเซลลูโลส รวมถึง อุตสาหกรรมต0อและซ0อมเรือ ซึ่งบริษัทเหล0านี้ส0วนมากยังไม0มีขีดความสามารถสูงพอที่จะส0งออกสินค4า หรือแข0งขันในตลาดสากลได4 สภากลาโหมได4พิจารณาแผนแม0บทการปฏิรูปการบริหารจัดการปรับปรุงโครงสร4าง กระทรวงกลาโหม ๒๕๕๘ - ๒๕๖๗ ระยะเวลา ๑๐ ป เพื่อให4สอดรับกับยุทธศาสตรป;องกันประเทศ โดยเน4นความคล0องตัว ทันสมัย ปฏิบัติภารกิจที่มีความหลากหลายเพื่อให4กระทรวงกลาโหมมีการ ปฏิรูปไปในทิศทางเดียวกัน มีความเป:นเอกภาพ ทั้งทางความคิดและการปฏิบัติ โดยเน4นผลสัมฤทธิ์ การปฏิบัติงาน ตอบสนองเป;าหมายและวิสัยทัศน รวมถึงปรับโครงสร4าง ปรับโอนแปรสภาพ ยุบเลิก ปรับมาตรฐานและเพิ่มความสมบูรณเพื่อเพิ่มขีดความสามารถกองทัพให4ทัดเทียมในภูมิภาค ตามแผนแม0บทดังกล0าวจึงจําเป:นที่ประเทศไทยต4องพัฒนาอุตสาหกรรมป;องกันประเทศ ของเราให4เข4มแข็งยิ่งขึ้นเพื่อเพิ่มความสามารถในการพึ่งพาตนเอง และเสริมสร4างสมรรถนะของ ทุกเหล0าทัพในการป;องกันประเทศ เพื่อความมั่นคงของชาติทั้งทางด4านเศรษฐกิจ การเมือง และสังคม นโยบายของกระทรวงกลาโหมที่ตั้งเป;าหมายของการใช4ผลงานวิจัยเพื่อทดแทน การนําเข4าเพื่อให4สอดคล4องกับยุทธศาสตรด4านการสร4างความสามารถในการแข0งขันของแผน ยุทธศาสตรชาติระยะ ๒๐ ป ซึ่งกระทรวงกลาโหมได4ตั้งเป;าหมายการทดแทนการนําเข4าในระยะยาว (หลัง พ.ศ. ๒๕๗๐) ไว4ประมาณร4อยละ ๒๐ ของงบประมาณประจําปสําหรับการจัดหายุทโธปกรณ ของกระทรวงกลาโหม เมื่อพิจารณาข4อมูลย4อนหลังในห4วงป ๒๕๕๖-๒๕๖๐ ที่ใช4งบประมาณดังกล0าว ประมาณ ๕๐,๐๐๐ ล4านบาท หรือประมาณ ๑๐,๐๐๐ ล4านบาทต0อป (รวมการจัดหาทั้งจากภายใน และต0างประเทศ) คิดเป:นสัดส0วนร4อยละ ๐.๐๗ ของผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ (GDP) ป ๒๕๖๐ จะเห็นได4ว0าจะสามารถทดแทนการนําเข4าได4ที่ระดับเฉลี่ย ๒,๐๐๐ ล4านบาทต0อป หรือคิดเป:นสัดส0วนร4อยละ ๐.๐๑๔ ของผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ (GDP) ป ๒๕๖๐ แต0นั่นไม0ได4หมายความว0าจะไม0มีป>ญหาท4าทายแต0อย0างใดทั้งสิ้น ความท4าทายใหญ0หลวง ที่สุดซึ่งยังคงไม0มีคําตอบคือ ประเทศไทยเราจะจริงจังในการพัฒนาอุตสาหกรรมทางทหารมากมาย แค0ไหน ระบบการวิจัยและพัฒนาเท0าที่ประเทศไทยมีอยู0สามารถรองรับการ “ต0อยอด” จาก พัฒนาการได4มากน4อยเพียงใดการถ0ายโอนเทคโนโลยี หรือแม4แต0กระทั่งการลอกเลียนเทคโนโลยี สามารถนําไปสู0การพัฒนาอุตสาหกรรมในหลายๆ ประเทศได4 อย0างที่เห็นกันอยู0ชัดเจนแต0นั่นหมายถึง ประเทศดังกล0าวต4องมีความพร4อม ต4องให4การสนับสนุนการค4นคว4าวิจัยเพื่อพัฒนาเทคโนโลยีให4ได4ข ต0อเนื่องในระยะยาว โดยที่สุดแล4ว ภาครัฐและภาคเอกชนจะต4องร0วมมือกันเสริมสร4างความแข็งแกร0ง ทั้งภายในและภายนอก ผลักดันให4ระบบกิจการอุตสาหกรรมป;องกันประเทศมีความมั่น มีความตื่นตัว และมีมาตรฐานและทิศทางในแนวทางเดียวกัน การที่จะต4องสร4างความร0วมมือทีแข็งแกร0ง นโยบายที่ เป:นรูปธรรมปฏิบัติได4 ตลอดจนความรูความเขาใจในดานการดําเนินธุรกิจของอุตสาหกรรมป(องกัน ประเทศตั้งแตการบริหารจัดการ การตลาด ระบบโลจิสติกส- ฯลฯ ผู4วิจัยได4ติดตามการพัฒนา อุตสาหกรรมป;องกันประเทศที่เกิดขึ้นมาโดยลําดับ จึงต4องการที่จะทําการศึกษาวิจัยในประเด็นที่ เกี่ยวกับยุทธศาสตรชาติระยะ ๒๐ ป ในหลักการของการพัฒนา วิทยาศาสตร เทคโนโลยี อุตสาหกรรมป;องกันประเทศกระทรวงกลาโหม พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ และแผนที่นําทางการพัฒนา อุตสาหกรรมป;องกันประเทศกระทรวงกลาโหม เพื่อแสวงหาและนําเสนอแนวทางการแก4ป>ญหาการ ผลิตอาวุธยุทโธปกรณไปสู0เชิงพาณิชยทั้งทางทหารและเศรษฐกิจของประเทศไทยอย0างจริงจังต0อไป

abstract:

Abstract Title COMMERCIAL ARMAMENT PRODUCTION FOR NATIONAL’S STRATEGIC FRAMEWORK IN THE NEXT 20 YEARS Field Economics Name Major General Jiravit DateJaratsri Course NDC Class 61 The significant change of political situation in the today’s world has impact which small countries were helped from big and powerful countries that had previously provided and support for ammunition resources. However, military force has to have the level of readiness in place. Therefore, the cost of operating in military continue rising, making more difficult to allocate a certain amount of the country's budget to support various equipment which self-reliance is necessary. Although, the Thai defense industry only has played role in this field not long ago. However, well beginning of development with a clear plan and direction can lead to great practice solution for the country in the future. The defense industry has great role to national economic growth. It appears that countries around the world are focusing on this industry and this industry grows rapidly, driven by their government’s perception of external threats while this industry is much smaller in Thailand. It also emerges that, “First Tier” countries like United States, Russia, China and countries in Western Europe. Their government’s attentions mostly focus on managing defense industry. As it able to develop armaments and complex systems that is fully functional with high technological skills. At the same time, many countries like South Korea, India, Brazil, Argentina, Israel, Australia, Canada and South Africa have been divided at “Second Tier” which still have high ability to develop munitions production and still has huge impact to national economic growth where self-sufficiency is to be maintained. However, the success of the drive is limited by budget and internal politics etc,. Thailand is categorized into “Third Tier” country, which industry is capable of producing most military requirement, some components and mostly maintenance ง critical parts that support military needed. There are 48 armament manufacturing under operation of Thailand’s Ministry of Defense which are divided into 4 groups including, 21 manufacturing under army, 7 manufacturing under navy, 12 manufacturing under air force, 1 under Royal Thai armed force. and 8 manufacturing under The Permanent Secretary for Defense. Private sector has 60 manufacturers in Thailand are able to maintenance, adjust some parts and capable to produce such as explosive, eruption, bullet, armor vehicles, bullet proof vest, Ammonium Nitrate, Nitrocellulose and Shipbuilder which these companies do not have enough capability to export or compete internationally. The transformation of the organizational structure of the Defense Ministry was presented following 10 years from 2015-2024 national strategic which focus on flexibility and modern. Focus on a variety of commissions that the Ministry of Defense has reformed in the same way. Unity both thought and practice by focusing on the outcome of operations meets the goals and vision. Therefore, including restructuring abolishes standards and increases integrity to increase the capacity of the army to equalize in the region. According to the national framework, Thailand defense industry shall be targeted primarily in order to strengthen and self-reliance is to be maintained. It also needs to enhance the capabilities of army in national defense for national security, economic, political and civilian. Ministry of Defense’s policy aims to use research overcome to improve armaments industry in replace armaments imported from outside the country along with the 20 years national policy which aim to build armament international strategic trade more competitive. It is suggested that the Ministry of Defense has set a target for long-term import substitution (after 2027), about a 20 percent of the annual budget for the procurement of military equipment. The previous report has shown that data during the 2013-2017, expensed of approximately 50,000 million baht or about 1,000 million baht per year (Including both domestic and international procurement), accounting for 0.07 percent of total gross domestic product (GDP) in 2017. It can be seen that it can replace imports at an average level of 2,000 million baht per year or equivalent to a percentage 0.014 of 2017 GDP. จ Nevertheless, there is still major challenge for defense industry in Thailand. A number of important policy and guidelines, which influence on the direction of the industry, were agreed in the management level. However, the research and technology development are the keys fundamental which shall be first targeted. Although technology imitated or transferred shall be done as such other successful countries. It appears that the industrial strong cooperation which requires government and private sector involvement could have encouraged the industry to reach internationally competitive standards. The strategic could confer operational in military and private agencies to exchange their solutions, technological and market operation as well as logistics solution. It will benefit industry in long term development. Additional, the initial obligation for researcher is to focus on 20 years national strategic within areas of defense technological development which the result shall be carried out successfully and for fundamental platform of Thailand’s defense industry shall be brought into world competitiveness. ฉ