Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: กระบวนทัศน์ใหม่ในการจัดทํางบประมาณของกระทรวงกลาโหม, (วปอ.8629)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเศรษฐกิจ/Economics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พล.ท. กิติ นิมิหุต, (วปอ.8629)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2561
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ เรื่อง กระบวนทัศน ใหมในการจัดทํางบประมาณของกระทรวงกลาโหม ลักษณะวิชาการเศรษฐกิจ ผูวิจัย พลโทกิติ นิมิหุต หลักสูตร วปอ. รุนที่61 การวิจัยเชิงคุณภาพนี้มีวัตถุประสงค เพื่อศึกษาและหาแนวทางการปรับปรุง กระบวนการจัดทํา และการจัดสรรงบประมาณของกระทรวงกลาโหมให1สอดคล1องกับยุทธศาสตร ชาติ 20 ป5 และพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ พ.ศ.2561 เพื่อวิเคราะห ข1อมูลที่เกี่ยวข1องในการจัดทํา งบประมาณของกระทรวงกลาโหม โดยวิเคราะห ความเป9นไปได1ของกรอบวงเงินงบประมาณคาใช1จาย ทางทหารที่เหมาะสมของประเทศในห1วง 10 ป5 ตั้งแตป5งบประมาณ พ.ศ.2562 – 2571และเพื่อ เสนอแนะแนวทางการปรับปรุงกระบวนการจัดทํางบประมาณของกระทรวงกลาโหมการวิจัย ครั้งนี้ เครื่องมือที่ใช1ในการวิจัยประกอบด1วยการวิจัยเชิงเอกสารโดยการศึกษาและค1นคว1าจากเอกสาร ทางวิชาการตําราตลอดจนผลงานวิจัย และได1ข1อมูลเพิ่มเติมรวมทั้งแนวคิดจากผู1ทรงคุณวุฒิ นักวิชาการ ในเรื่องเกี่ยวกับกระบวนการจัดทํา และการจัดสรรงบประมาณของกระทรวงกลาโหม ผลการศึกษาพบวา ผลจากความเปลี่ยนแปลงในกระบวนการจัดทํางบประมาณ ในภาพรวมของประเทศได1สงผลกระทบให1เกิดกับการจัดทํางบประมาณของกระทรวงกลาโหม ซึ่งทําให1เกิดเป9นป@ญหาและอุปสรรคที่ต1องดําเนินการเพื่อแก1ไขลดผลกระทบ แบงเป9น 3 หัวข1อ ได1แก 1. วิเคราะห งบประมาณในสวนตางๆ อยางละเอียดเพื่อให1สามารถแยกงบประมาณในสวนที่เป9นงบ ประจํา กับงบประมาณในสวนที่ใช1ในการดําเนินการตามยุทธศาสตร ของรัฐบาล 2. ปรับปรุงขั้นตอน ดําเนินการที่เกี่ยวข1องเกี่ยวกับห1วงเวลาการจัดทํารายงานเงินนอกงบประมาณ ปรับปรุงกรอบเวลา ในการจัดทําโครงการการดําเนินการด1านโครงการของกระทรวงกลาโหม และปรับห1วงระยะเวลา การดําเนินการในขั้นตอนกอนการผูกพันงบประมาณให1มีความกระชับ และรวดเร็วยิ่งขึ้น 3.ควรมีการ ดําเนินการปรับปรุงแผนปฏิบัติราชการประจําป5ของกระทรวงกลาโหม ให1สอดคล1องกับยุทธศาสตร ชาติ แผนแมบทภายใต1ยุทธศาสตร ชาติด1านความมั่นคง และปรับปรุงแผนปฏิบัติการด1านการพัฒนา ศักยภาพของประเทศด1านความมั่นคงกระทรวงกลาโหม (พ.ศ.2561 – 2580) เพื่อเป9นตัวกลางใช1 เชื่อมโยง แผนระดับประเทศกับแผนระดับกระทรวง จากนโยบายไปสูการปฏิบัติ

abstract:

Abstract Title New paradigm in budget preparation of the Ministry of Defence Field Economics Name Lieutenant General Kiti Nimihuta Course NDC Class 61 This qualitative research aims to study and find ways to improve the preparation process of the Ministry of Defence budget allocation, in accordance with the 20 years national strategy and the Budget Procedure Act, 2018, to analyze relevant information in the Ministry of Defence budgeting by analyzing the feasibility of the budget framework for the appropriate military expenditure in 10 years (fiscal year 2019 – 2028) and to suggest guidelines for improving the Ministry of Defence budgeting process. The tools used in the research consist of documentary research by studying and researching from academic papers as well as research results, also additional information including ideas from academic experts in the area of the preparation process and budget allocation of the Ministry of Defence. The study indicated that the result of changes in the overall budgeting process of the country has impact on the Ministry of Defence budget which causes problems and obstacles that need to be solved. The results divided into 3 topics 1. analyze the budget in various parts thoroughly in order to be able to separate the regular budget from the budget used in the implementation of the government's strategy, 2. improve the procedures involved in the timing of the non-budgetary report and adjust the time frame for the Ministry of Defence’s project preparation and the timing of the pre-binding process and 3. improve the Ministry of Defence annual action plan in accordance with the national strategy together with the master plan under the national security strategy and the Ministry of Defence action plan for the development of national potential for security, (2018 - 2037) as an intermediary link from Country’s level plan to the Ministry’s level plan.