Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางในการกำหนดนโยบายจราจรเพื่อสร้างความปลอดภัยบนท้องถนน กรณีศึกษา กรุงเทพมหานคร, (วปอ.8628)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พล.ต.ต.กิตติรัฐ์ พันธุ์เพ็ชร, (วปอ.8628)
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2561
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ เรื่อง แนวทางในการกําหนดนโยบายจราจรเพื่อสรางความปลอดภัยบนทองถนน กรณีศึกษา กรุงเทพมหานคร ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา ผูวิจัย พลตํารวจตรี กิตติ์รัฐ พันธุ+เพ็ชร+ หลักสูตร วปอ. รุนที่ 61 งานวิจัยชิ้นนี้จัดทําขึ้นโดยมีวัตถุประสงค+เพื่อ 1. ศึกษาสาเหตุและป4จจัยหลักที่ส5งผล ต5อการเกิดอุบัติเหตุบนทองถนนในกรุงเทพมหานคร ป4ญหาและอุปสรรคในการบูรณาการร5วมกันของ หน5วยงานที่เกี่ยวของในการพัฒนาดานการบริหารงานจราจร และรูปแบบและป4จจัยแห5งความสําเร็จ (Success Factors) ของประเทศที่ประสบความสําเร็จในการลดอัตราการตายบนทองถนนและ สามารถสรางความเชื่อมั่นในเรื่องความปลอดภัยบนทองถนนไดสําเร็จ และ 2. วิเคราะห+และเสนอ แนวทางในการกําหนดนโยบายจราจรและรูปแบบการจัดการจราจรที่สามารถลดการเกิดอุบัติเหตุ และเสริมสรางความปลอดภัยบนทองถนนอย5างเปHนรูปธรรม โดยผูวิจัยใชระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Methods) อันไดแก5 การวิจัยเอกสาร (Documentary Research) และการสัมภาษณ+ เชิงลึก (In-depth Interview) เพื่อหาขอมูลที่ครอบคลุมเนื้อหาใน 3 ประเด็นหลักของงานวิจัย ไดแก5 สาเหตุหรือป4จจัยในการเกิดอุบัติเหตุทางถนนในกรุงเทพมหานคร ป4ญหาและอุปสรรคในการทํางาน หรือการบูรณาการร5วมกันระหว5างหน5วยงานในการแกไขป4ญหาอุบัติเหตุทางถนนของกรุงเทพมหานคร และขอเสนอแนะในการพัฒนาการบริหารจัดการเพื่อลดอุบัติเหตุทางถนนของกรุงเทพมหานคร จากนั้นใชการการวิเคราะห+แก5นเนื้อหาสาระ (Contentanalysis) มาใชในการวิเคราะห+ขอมูลที่ไดจาก กระบวนการเก็บขอมูล ทั้งนี้ ผูวิจัยแบ5งกลุ5มตัวอย5างในการสัมภาษณ+เชิงลึกออกเปHน 5 กลุ5ม ดังนี้ 1. ผูใชรถใชถนน 2. เจาหนาที่ผูปฏิบัติงาน 3. ผูเชี่ยวชาญดานงานจราจรของสํานักงานตํารวจแห5งชาติ 4. ผูกําหนดนโยบายดานงานจราจรและ 5. นักวิชาการดานความปลอดภัยทางถนน รวมทั้งสิ้น 15 คน จากการวิจัยพบว5า ป4ญหาและอุปสรรคในการแกไขป4ญหาอุบัติเหตุจราจรในกรุงเทพมหานครมีประเด็น ที่สําคัญทั้งสิ้น 5 ประเด็น ไดแก5 1. ป4ญหาจากการบริหารจัดการภายในขององค+กรที่เกี่ยวของที่ยัง ไม5ตอบสนองการทํางานเพื่อใหบรรลุเป^าหมายในการลดอุบัติเหตุทางถนน เช5น การสั่งการที่ยังเปHน รูปแบบที่สั่งจากบนลงล5าง (Top-Down Approach) การที่ผูบริหารของบางองค+กรยังถือว5าการลด อุบัติเหตุจราจรไม5ใช5ภารกิจที่สําคัญอันดับแรก การโยกยายหรือแต5งตั้งใหผูที่ไม5มีความรูความ เชี่ยวชาญมาทํางานในหนางานที่เกี่ยวกับการลดอุบัติเหตุทางถนน 2. การทํางานร5วมกันระหว5าง หน5วยงานที่เกี่ยวของ เช5น การขาดเอกภาพในการกําหนดและพัฒนานโยบายรวมทั้งแนวทาง การปฏิบัติงานในภาพรวมระดับประเทศ การใหความสําคัญต5อภารกิจการลดอุบัติเหตุจราจร ข ที่แตกต5างกันของผูบริหารของแต5ละองค+กร และการพัฒนาระบบฐานขอมูล เทคโนโลยีสารสนเทศ รวมถึงวิธีการเก็บขอมูลอุบัติเหตุที่ไม5เปHนไปในทิศทางที่เปHนรูปแบบหรือมาตรฐานเดียวกัน ทําใหยาก ในการแลกเปลี่ยนขอมูลระหว5างกัน รวมทั้งเปHนอุปสรรคในการนําขอมูลมาวิเคราะห+เพื่อใชในการ กําหนดนโยบายต5อไป 3. ป4ญหาการขาดแคลนงบประมาณ อุปกรณ+ในการทํางาน และผูเชี่ยวชาญ ดานความปลอดภัยทางถนนโดยเฉพาะ 4. ป4ญหาดานกฎหมายที่เกี่ยวของกับการสรางความปลอดภัย ทางถนน เช5น บทลงโทษที่ยังไม5มีสภาพที่สามารถยับยั้งใหบุคคลไม5กลาฝdาฝeนกฎหมายจราจรที่อาจ ก5อใหเกิดอันตรายทางถนน การบังคับใชกฎหมายที่ยังขาดประสิทธิภาพ รวมทั้งขาดการเผยแพร5 และสรางความตระหนักรูใหแก5ประชาชนผูใชรถใชถนนอย5างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพโดยหน5วยงาน ที่เกี่ยวของและ 5. ป4ญหาเรื่องจิตสํานึกต5อส5วนรวมของผูใชรถใชถนนในการเคารพกฎหมายจราจร ระมัดระวังการขับขี่หรือพฤติกรรมที่อาจก5อใหเกิดอันตรายต5อผูอื่น รวมทั้งพฤติกรรมที่ขัดขวาง หรือไม5ใหเกียรติการปฏิบัติงานของเจาหนาที่ที่ชอบดวยกฎหมาย ซึ่งทําลายขวัญกําลังใจของผูปฏิบัติงาน ทั้งนี้ ผูวิจัยนําเสนอกรอบแนวคิดที่ใชในการพัฒนานโยบายดานความปลอดภัยทางถนนที่เหมาะสม กับประเทศไทย ไดแก5 กรอบแนวคิด 5E ซึ่งประกอบดวย วิศวกรรมการจราจร (Engineering)การศึกษา (Education) การบังคับใชกฎหมาย (Enforcement) การมีส5วนร5วมของภาคประชาชน (Engagement) และการพัฒนาสภาพแวดลอมภายในองค+กรและประเทศ (Environment) นอกจากนี้ ผูวิจัย ไดใหขอเสนอแนะเพื่อการพัฒนายุทธศาสตร+และทิศทางการยกระดับความปลอดภัยทางถนน ของประเทศไทย โดยแบ5งเปHน 3 ดาน ไดแก5 ดานนโยบาย ดานการปฏิบัติ และดานการศึกษาวิจัย และพัฒนา

abstract:

Abstract Title : A Study on Policy Development of Road Safety in Thailand: Bangkok Case Study Field : Social Psychology Name : Pol.Maj.Gen. Kittharath Punpetch Course NDC Class 61 This research was conducted to 1.study key factors causing road accidents in Bangkok, problems and obstacles for collaboration between agencies concerned, and best practices with success factors used by countries which successfully enhanced the road safety and reduced fatality from traffic accidents in their countries, and 2. analyze and make practical recommendations that can be used as basis for any organizations involved in developing police and practices regarding road safetyand accident reduction. Qualitative approach was used as research methodology by employing documentary analysis and semi-structured interviews with 15 key informants in 5 domains: 1. Drivers and Riders, 2. Practitioners, 3. Traffic Management and Safety Experts, 4. Policy Makers, and Road Safety Scholars. It was found that there werefiveprimary obstacles essentially hindering improvement of road safety practices andeffectivecollaboration among agencies concerned in Bangkok. Such problems include1. Ineffectiveinternal management and control within agencies concerned, 2.Inabilityto collaboratewith each other holistically due to fragmented internal policies and practices set by high-level policy makers of each entity, 3. inadequacy of budget, equipment, and personnel (road safety specialists), 4. ineffective road-safety-related legislations and enforcement, and 5.lack of public awareness in following trafficlaws and not riding or driving in the manners that may be dangerous to others.The key contribution of this research is a provision of the “5-E Framework for RoadSafety Development,” which is an extended version of the 3-E model used globally in the road safety field. With extensive analysis of data collected, this extensionis developed further to suite the situations of problems found in Thailand, and it can be applied appropriately to other developing countries facing similar problems. Last, policy, practical, research and development recommendations were introduced and discussed.