เรื่อง: แนวทางการเพิ่มโอกาสทางการศึกษาของประเทศไทย, (วปอ.8622)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นายกวิน เสือสกุล, (วปอ.8622)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2561
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง แนวทางการเพิ่มโอกาสทางการศึกษาของประเทศไทย
ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา
ผูวิจัย นายกวิน เสือสกุล หลักสูตร วปอ. รุนที่ 61
แนวทางการเพิ่มโอกาสทางการศึกษาของประเทศไทย เพื่อศึกษาทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับ
การศึกษาตั้งแต*ก*อนวัยเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับ วิเคราะห-สภาพป.ญหาและอุปสรรคโอกาสทาง
การศึกษาของประเทศไทย และเสนอแนวทางการเพิ่มโอกาสทางการศึกษาของประเทศไทย ที่เป0นงานวิจัย
แบบผสม (Mix Method)ประกอบด<วยการวิจัยเชิงปริมาณเป0นการสํารวจสภาพป.ญหาและอุปสรรคที่ส*งผล
ต*อการเพิ่มโอกาสทางการศึกษาของประเทศไทย โดยใช<แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข<อมูล
มีค*าความเชื่อมั่นของแบบสอบถามเท*ากับ 0.802และการวิจัยเชิงคุณภาพจากการรวบรวมความคิดเห็น
ตัวอย*างที่ใช<ในการวิจัย ได<แก* ผู<บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรทางการศึกษา จากโรงเรียนสังกัด
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน1๑๘ โรงเรียน ทั้งหมด 216 คน และผู<บริหารการศึกษาจาก
ส*วนกลางและภูมิภาค จํานวน 48 คนการวิเคราะห-ข<อมูลใช<สถิติพื้นฐาน (Descriptive Statistic) และ
วิเคราะห-ข<อมูลเชิงเนื้อหา (Content Analysis)ผลการศึกษา ดังนี้ 1.แนวคิดการจัดการศึกษาตาม
แผนการศึกษาแห*งชาติ พ.ศ. 2560-2579 โดยวิสัยทัศน-(Vision) “คนไทยทุกคนได<รับการศึกษาและ
เรียนรู<ตลอดชีวิตอย*างมีคุณภาพ ดํารงชีวิตอย*างเป0นสุข สอดคล<องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
และการเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษที่ ๒๑”โดยมุ*งพัฒนาผู<เรียนทุกคนให<มีคุณลักษณะและทักษะ
การเรียนรู<ในศตวรรษที่ ๒๑ (3Rs8Cs) และเปaาหมายของการจัดการศึกษา 2.การเข<าถึงการศึกษาของ
ประเทศไทยยังไม*ครบร<อยละ 100 หรือยังมีเด็กที่ยังไม*ได<รับการศึกษาที่รัฐบาลต<องเข<ามาดูแล
แก<ไขป.ญหา โดยมีเด็กอยู*ประมาณร<อยละ 8.7 หรือประมาณ 2.3 แสนคนที่ไม*ได<รับการศึกษาภาคบังคับ
ยิ่งระดับการศึกษาที่สูงขึ้นเด็กก็จะหลุดจากระบบการศึกษามากขึ้น 3. สภาพป.ญหาและอุปสรรคที่มีผลต*อ
การเพิ่มโอกาสทางการศึกษาของประเทศไทยมากที่สุด คือ ตัวนักเรียนเอง รองลงมา คือ นโยบายภาครัฐ
ครอบครัวนักเรียน โรงเรียน และน<อยที่สุด คือ ชุมชน ตามลําดับ4.แนวทางการเพิ่มโอกาสทางการศึกษา
ของประเทศไทย ได<แก* 4.1 จัดทําระบบการบริหารจัดการศึกษาที่สามารถติดตามเด็กที่เป0นระบบกลางของ
ประเทศ 4.2 การบังคับใช<กฏหมาย ถึงหน<าที่ของผู<ปกครองที่ต<องนําเด็กเข<ารับการศึกษาภาคบังคับ
4.3 การประชาสัมพันธ-ของหน*วยงานในระดับกระทรวง ระดับจังหวัด และระดับพื้นที่ เมื่อถึงฤดูกาลที่มี
การรับนักเรียน 4.4 พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาที่หลากหลาย เพื่อให<สามารถตอบสนองต*อวิถีชีวิตและ
ความต<องการของกลุ*มบุคคลต*างๆ 4.5 ส*งเสริมให<บุคคล ครอบครัว องค-กรชุมชน องค-กรเอกชน องค-กร
วิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันสังคมอื่นๆ มีสิทธิในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
4.6 การส*งเสริม ให<การช*วยเหลือ หรือสนับสนุนเด็กที่อยู*ในถิ่นห*างไกล 4.7 การส*งเสริมการมีงานทํา
ระหว*างเรียน 4.8 ความร*วมมือของทุกภาคส*วนในการติดตามเด็กเมื่อถึงเกณฑ-ในการเข<ารับการศึกษา
4.9 กําหนดมาตรการลงโทษหน*วยงานที่รับผิดชอบโดยตรงที่ดูแลหรือรับผิดชอบในการติดตามเด็ก
4.10 ส*งเสริมนโยบายเรียนฟรี 15 ปh ที่แท<จริงได<โดยไม*มีการเสียเงินเพิ่มเติม
abstract:
Abstract
Title Approaches to Enhance Educational Opportunity in Thailand
Field of Study Social Psychology
Author Mr.Kawin Sueasakul Course NDC Class 61
This study aims to: 1.explore theory and concept of early childhood and
compulsory education; 2. to analyze problems and obstacles of educational opportunity, and
3. to provide approaches for educational opportunicy enhancement in Thailand. A mix method
of quantitative and qualitative approaches was used in this study. With a 95% confidence interval
(0.802 to 1.00), a series of questionnaire surveys was used to explore problems and obstacles
affecting to educational opportunity enhancement in Thailand. The survey samples consist of
216 school principals, educational staffs and teachers working in 116 schools under Office of the
Basic Education Commission-OBEC’s supervision, and 48 educational agencies working at the
central and local levels. Both descriptive statistic and content analysis were applied in this study.
Main findings are: 1.the concept of educational management is related to the vision
of the National Education Plan B.E. 2560 – 2579 (2017-2036)—All Thai citizens must be provided
with quality education and life-long learning, well-being in accordance with the Philosophy of
Sufficiency Economy and global change in the 21st
century, and to provide all learners skills
appropriating for the 21st Century (3Rs8Cs) and conforming to the professional standards and
qualifications; 2. about 8.7 percentage of the school age population or 230 thousand youths
areout of education system— the higher education level, the lower participation rate—
a challengefor the government; 3. the most serious problem and obstacle of educational
opportunity enhancement is related to students, themselves, followed by government
policies, family, school and community; 4. approaches to increase educational opportunity
include: (a) developing a national administration system to follow up students; (b) enforcing
compulsory education laws—in this case, parents are held legally responsible for their
children’s school attendance; (c) announcing the enrollment application—as public relations
(PR) strategies of central, provincial, and local agencies; (d) designing various administrative
forms which are suitable for life-style and need of each group; (e) promoting rights to
manage basic education of individual, household, community, private organizations,
vocational organizations, religious organizations, enterprises, and other social organizations; (f)
supporting rural children; (g) promoting working while studying; (h) punishing agencies who
fail to follow up students; and (i) promoting the 15-year free education.