เรื่อง: การพัฒนาสมรรถนะด้านดิจิทัลสําหรับนักเรียนเตรียมทหาร ให้มีมาตรฐานระดับสากลเพื่อขับเคลื่อนเขาสู่ ดิจิทัลไทยแลนด์, (วปอ.8616)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการทหาร/Military
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พล.ต.กนกพงษ์ จันทร์นวล, (วปอ.8616)
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2561
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดยอ
เรื่อง การพัฒนาสมรรถนะดานดิจิทัลสําหรับนักเรียนเตรียมทหารใหมีมาตรฐาน
ระดับสากลเพื่อขับเคลื่อนเขาสู"ดิจิทัลไทยแลนด%
ลักษณะวิชา การทหาร
ผูวิจัย พลตรีกนกพงษ%จันทร%นวล หลักสูตร วปอ. รุนที่๖๑
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค%เพื่อศึกษาสภาพป2ญหาและความพรอมต"อการเปลี่ยนผ"าน
ทางดิจิทัล (Digital Transformation) ของนักเรียนเตรียมทหารศึกษาป2จจัยกระบวนการเปลี่ยนผ"าน
ทางดิจิทัลของนักเรียนเตรียมทหาร และเพื่อเสนอแนวทางการพัฒนาสมรรถนะดานดิจิทัลสําหรับ
นักเรียนเตรียมทหารใหมีมาตรฐานระดับสากลสําหรับขับเคลื่อนเขาสู"ดิจิทัลไทยแลนด% เปDนการ
วิจัยเชิงคุณภาพ ทําการเก็บรวบรวมขอมูลแนวคิดทฤษฎี วรรณกรรมที่เกี่ยวของและเอกสารนโยบาย
ของรัฐบาลดานดิจิทัลการสัมภาษณ%เชิงลึก และการสนทนากลุ"มกับผูเชี่ยวชาญดานเทคโนโลยีดิจิทัล
ผูบริหารที่เกี่ยวของดานการศึกษา และอาจารย%ของโรงเรียนเตรียมทหาร และทําการวิเคราะห%ผลการ
ประเมินสมรรถนะดิจิทัลของนักเรียนเตรียมทหาร ผลการวิจัยพบว"า ผลการประเมินทักษะความ
เขาใจและใชเทคโนโลยีดิจิทัลของนักเรียนเตรียมทหาร ตรงกับกลุ"มทักษะดิจิทัลพื้นฐานที่จําเปDน
(ICDL Workforce Modules) ของ ICDL (The International Computer Driving License) ในระดับที่ ๑
การเขาถึงและตระหนักถึงดิจิทัลและระดับที่ ๒ การรูดิจิทัลหรือความสามารถทางดิจิทัล (Digital Literacy)
ยังพบอีกว"าป2จจัยสําคัญในการเปลี่ยนผ"านทางดิจิทัลของนักเรียนเตรียมทหารสําหรับพัฒนาไปสู"
โรงเรียนเตรียมทหารดิจิทัลที่มีความสมาร%ตนั้นผูนําดิจิทัลของหน"วยงานตองกําหนดนโยบายดาน
ดิจิทัลอย"างชัดเจน พัฒนาศักยภาพกําลังพลดานดิจิทัลใหเพียงพอและต"อเนื่อง พัฒนาระบบ
โครงสรางพื้นฐานดิจิทัลและระบบรักษา ความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร% พรอมทั้งปรับปรุง
สภาพแวดลอมและสิ่งอํานวยความสะดวกที่เอื้อต"อการปฏิบัติงาน และประการสุดทายคือ การฝ]กอบรม
ทักษะการสื่อสารของบุคลากรใหมีประสิทธิภาพเพื่อสรางความรูความเขาใจและการปฏิบัติงานที่อาศัย
เทคโนโลยีดิจิทัลไดอย"างมีประสิทธิภาพมีขอเสนอแนะ คือ ควรนําขอคนพบในการวิจัยไปขยายผล
ในทางปฏิบัติทําแผนรองรับ งบประมาณ และกําหนดส"วนงานและบุคคลที่รับผิดชอบดานการพัฒนา
สมรรถนะดานดิจิทัล จัดทําแผนการจัดการศึกษา เป_าหมาย ตัวชี้วัด เพื่อพัฒนาสมรรถนะสําคัญ
ทางดานดิจิทัลของนักเรียนเตรียมทหารอย"างต"อเนื่องพัฒนาบุคลากรของโรงเรียนเตรียมทหาร ใหมีความรู
ความเขาใจในเทคโนโลยี และสื่ออุปกรณ%การเรียนการสอนที่ทันสมัย รวมทั้งจัดทําแผนความร"วมมือกับ
หน"วยงานภายนอกที่ส"งเสริมการพัฒนาสมรรถนะสําคัญทางดานดิจิทัลใหกับนักเรียนเตรียมทหาร
abstract:
ABSTRACT
Title Enhancing Pre-Cadets’ Digital Competency to Meet the
International Standards Requirements for mobilizing DigitalThailand
Field Military
Name Major General KanokpongChannual CourseNDC Class 61
The purposes of this research are (1) to study the pre-cadets’ digital learning
situations and their readiness towards the school digital transformation plan, (2) to study
the factors and processes of digital transformation for the pre-cadets, and (3) to provide
some guidelines for enhancing their digital capability to meet the international digital
standard requirements. This qualitative research is based on the information collected
from the national policy documents, digital-related theories and literature, in-depth
interviews with some digital technology experts, the school executives as well as many
school instructors, and the analysis of the pre-cadets’ digital testing results. The research
findings show that most pre-cadets’ digital capability meet the two basic levels of the
digital competency framework stated in the International Computer Driving License
Workforce Modules, which are, Level one: Digital Access and Digital Awareness, and Level
two: Digital Literacy. The findings also reveal that the major factors to consider for the
school to realize its smart digital goals are as follows: (a) the school digital leaders should
provide a clear-cut digital policy; (b) the school personnel’s digital competency should be
developed sufficiently and continuously; (c) the school digital infrastructure and its
effective operating systems with a digital learning environment should be focused and fully
supported, also its security system be maintained; and (c) the school personnel’s
communication skills should be sufficiently trained in order to create a better
understanding and be able to handle technology-related work effectively. In addition,
suggestions are: (1) extending the study results to practice by making the school plans for
digital capability enhancement with the budget plan, units & personnel work assignments;
(2) making the school education plan with stated goals and KPI in order to continuously
improve the pre-cadets’ and the school personnel’s digital capabilities, and to update the
school’s instructional media; and (3) making a networking plan with external agencies to
give support to the pre-cadets’ digital capability enhancement.