Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การปรับปรุงโครงสร้างการบริหารจัดการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของงานวิจัยและพัฒนาของกระทรวงกลาโหม

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการทหาร/Military
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลโท ถเกิงกานต์ ศรีอำไพ
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2556
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื อง การปรับปรุงโครงสร้างการบริหารจัดการเพือเพิมประสิทธิภาพของ งานวิจัยและพัฒนาของกระทรวงกลาโหม ลักษณะวิชา การทหาร ผ้วิจัย ู พล.ท. ถเกิงกานต์ ศรีอําไพ หลักสูตร วปม. ร่นที ุ ๗ การวิจัยนี,มีวัตถุประสงค์เพือศึกษาปัญหาของโครงสร้างการบริหารจัดการงานวิจัยของ กระทรวงกลาโหม (กห.) และแนวทางการแกไขปัญหาดังกล ้ ่าว โดยการศึกษาครั,งนี,จะมุ่งเน้นการ วิเคราะห์ระบบงานวิจัยและพัฒนาของ กห. ในปัจจุบัน นําไปสู่การปรับปรุงโครงสร้างของการ บริหารจัดการงานวิจัยและพัฒนาของ กห. ให้แต่ละหน่วยงานมีบทบาททีมีความชัดเจนและประสาน สอดคล้องมีประสิทธิภาพมากยิงขึ,น โดยศึกษาวิเคราะห์จากเอกสารทีเกียวข้องของหน่วยงานต่างๆ ในด้านการวิจัยและพัฒนาทั,งในประเทศและต่างประเทศ ผลของการวิจัยพบวาการบริหารจัดการ ่ งานวิจัยและพัฒนาของ กห.ใช้หลักการรวมการด้านนโยบายและงบประมาณไว้ในระดับ กห. จะ บริหารจัดการผ่านคณะกรรมการระดับ กห. และแยกการการปฏิบัติงานวิจัยด้วยหน่วยงานวิจัยใน สป. บก.ทท. ทบ. ทร. และ ทอ. จากการจัดตั,ง สทป. ภายใต้ พ.ร.บ.องค์การมหาชน พ.ศ.2542 โดยจัดทําเป็ น พ.ร.ฎ.จัดตั,งสถาบันเทคโนโลยีป้ องกนประเทศ (องค์การมหาชน) พ.ศ.2551 ขึ ั ,น ทํา ให้ สทป. ตัดขาดจากหน่วยแม่ คือ กห.ในทางกฎหมาย มีอิสระในการกาหนดทิศทางนโยบายเอง มี ํ อิสระในการปฏิบัติ ทําให้เกิดปัญหาด้านการขาดเอกภาพในการตัดสินใจและการดําเนินการ ซึ ง ส่งผลต่อความล้มเหลวของงานวิจัยและพัฒนาของ กห. จากการศึกษาวิจัยพบวาการบริหารงานวิจัย ่ ของหน่วยงานภายใน ประเทศมีลักษณะทีหลากหลาย มีอิสระต่อกน ไม ั ่เชือมโยงกนอย ั ่างชัดเจน ทําให้อยูในลักษณะ ต ่ ่างคนต่างทํากนมาก ั ่อน แล้วรัฐบาลได้จัดตั,งคณะกรรมการบูรณาการงานวิจัย แห่งชาติขึ,นเพือ แกปัญหา นอกจากนั ้ ,นได้ศึกษารูปแบบการบริหารจัดการของต่างประเทศ พบว่า ทุกประเทศมีจุดเด่นร่วมกนคือการมีเอกภาพในการตัดสินใจและการดําเนินการ จึงทํา ั ให้งานวิจัย และพัฒนาประสบผลสําเร็จ แนวทางการแก้ไขปัญหาของการขาดเอกภาพในการตัดสินใจและการดําเนินการ ด้านการวิจัย และพัฒนาของ กห. นั,น มีทั,งให้มีคณะกรรมการบูรณาการงานวิจัยของ กห. ทีมี รมว.กห.เป็ นประธาน โดยให้มีอํานาจในการตัดสินใจ เพือให้เกิดการบูรณาการงานวิจัยของ กห. หรือให้ปรับเปลียนโครงสร้างการบริหารจัดการในส่วนของ สทป. โดยให้มีผู้บังคับบัญชาเป็ นคน เดียวกันกบในส ั ่วนของ วท.กห. และเหล่าทัพ โดยมี ๒ แนวทางเช่นกัน คือปรับปรุ ง พ.ร.ฎ. ข การจัดตั,ง สทป. ให้ ปล.กห.เป็ นประธานคณะกรรมการบริหารสถาบันโดยตําแหน่ง ก็จะทําให้ทั,ง วท.กห. และ สทป. รวมทั,ง ศอพท. มีผู้บังคับบัญชาเป็ นคน ๆ เดียวกน หรืออาจจะปรับ พ.ร.ฎ. ั การจัดตั,ง สทป. ทําให้ สทป. เป็ น Service Delivery Unit (SDU) และเป็ นหน่วยขึ,นตรงของ สป. ซึ งก็จะทําให้ทั,ง วท.กห. สทป. และ ศอพท. มี ปล.กห. เป็ นผู้บังคับบัญชาเป็ นคน ๆ เดียวกัน เช่นกัน จะทําให้สามารถลดปัญหาข้อขัดข้องลงไปมาก โดยเฉพาะการขาดความเอกภาพของ งานวิจัยของ กห. และสามารถบูรณาการงานวิจัยทีเป็ นทั,งส่วนราชการและองค์กรอิสระ ให้เข้า ด้วยกนได้ ั

abstract:

ABSTRACT Title The Defense Research and Development Management Structure Field Military Name Lt.Gen. Takerngkarn Sri-am-pai Course NDC (SPP) Class 7 The objective of this research is to study problems of defense research and development management structure and to find the way to solve these problems. Within this study, researcher emphasizes on current defense research and development system analysis leading to restructure the system in order to clarify appropriate role for each unit within the system and increase the system’s efficiency. The researcher studied and analyzed domestic and foreign research and development units. In this study, the researcher found that defense research and development utilized centralizing rule in research policy and budget managed by research and development board at ministry level and decentralizing rule for each research activity by any unit within the office of permanent secretary of defense, royal Thai armed forces headquarters, royal Thai army, royal Thai navy and royal Thai air forces. After Defense Technology Institute (DTI) establishment in 2009, DTI separated from Ministry of Defense by law. DTI has freedom to select its own research policy and research activities. These actions create the problem of lacking in unity of decision making in research policy and research activities. In this study, the researcher found that civilian research units at national level also had the same problem. Thai government solved this problem by having a committee with its members from all research agencies. The researcher also found that the unity of decision making in research policy and research activities is the key success factor of defense research and development in foreign countries. One way to solve the lacking in unity of decision making in research policy and activities is to have a committee which has minister of defense as a head of this committee and representatives from all involving units within MOD including DTI as its members. This committee will have authority to make final decisions for all defense research and development matters. Another solution is to have the same commander for both DSTD and DTI. There are two approaches. The first one is to change a law of DTI establishment in order to have the permanent secretary of defense as a head of DTI executive board. The second approach is to change DTI status from Public Organization to Service Delivery Unit (SDU) in order to have DTI as another unit under Office of the Permanent Secretary of Defense (OPSD). In this way, DSTD and DTI will have the same commander, the permanent secretary of defense. This unity of decision making in research policy and activities will clarify appropriate role for each unit within the system and finally increase the system’s efficiency to serve effectively to all services in MOD.