Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการปฏิรูปการบริหารจัดการและโครงสร้างกระทรวงกลาโหมให้เป็นกองทัพชั้นนำในประชาคมอาเซียน

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการทหาร/Military
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลโท ฐิตินันท์ ธัญญศิริ
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2556
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื อง แนวทางการปฏิรูปการบริหารจัดการและโครงสร้างกระทรวงกลาโหม ให้ เป็ นกองทัพชั$นนําในประชาคมอาเซียน ลักษณะวิชา การทหาร ผ้วิจัย พลโท ฐิตินันท์ ธัญญสิริ หลักส ู ูตร วปม. ร่นที ๗ ุ การวิจัยมีวัตถุประสงค์ เพือวิเคราะห์ สภาพ ประเด็นปัญหา และเสนอแนวทาง การปฎิรูปการบริ หารจัดการและโครงสร้างกระทรวงกลาโหม (กห.) ทีเป็ นมาตรฐานสากล เหมาะสม สอดคล้องกบแนวทางการปฏิรูประบบราชการไทย และเป็ นกองทัพชั ั /นนําในประชาคม อาเซียน ขอบเขตของการวิจัยได้ศึกษาเฉพาะในกลุ่มงานของสํานักงานปลัดกระทรวงกลาโหม (สป.) และกองทัพไทย วิธีดําเนินการวิจัยเป็ นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยศึกษาข้อมูลพื/นฐานในเรือง การปฏิรูประบบราชการไทย และใน กห. ผลงานวิจัยทีเกียวข้อง และการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ของ กห.ไทย ผู้วิจัยนําระบบการบริหารราชการและการจัดโครงสร้าง กห. ของประเทศ ออสเตรเลีย แคนาดา และสหราชอาณาจักร ซึ งมีลักษณะรูปแบบทีคล้ายคลึงกนมาก มาเป็ นต้นแบบ และได้ ั ศึกษาการจัดโครงสร้าง กห.ของประเทศในอาเซียน ๙ ประเทศ เพือเป็ นข้อมูลเชิงเปรี ยบเทียบ รวมทั/งสัมภาษณ์ อดีตผู้นําและผู้นํา/ผู้บริหารระดับสูงของ กห.จํานวน ๑๗ ท่าน จากข้อมูลข้างต้น ผู้วิจัยได้นํามาวิเคราะห์ ด้วยวิธี SWOT Analysis โดยใช้ แนวคิดปัจจัย ๗ ประการ ของแมคคินซีย์ (McKinsey O-S Framework) และ ทฤษฎี PESTEL Analysis จากนั/นได้สังเคราะห์ ข้อมูลและผล การวิเคราะห์ข้างต้น และเสนอให้แต่งตั/งคณะกรรมการทบทวนยุทธศาสตร์การป้ องกนประเทศทีมี ั ผู้แทนจากภาครัฐอืนและภาคประชาชนเข้าร่วม ให้ทบทวนแนวคิดยุทธศาสตร์การป้ องกนเชิงรุก ั กาหนดงานหลัก งานรอง กรอบทิศทางการดําเนินงานของ กห. ท ํ ีชัดเจน ให้นําโครงสร้างแบบกลุ่ม งาน/กลุ่มภารกิจ ภายใต้ ปล.กห.และ ผบ.ทสส. การบริหารจัดการโดยคณะกรรมการ และระบบการ มอบหมายงาน การควบคุมตรวจสอบการบริหารราชการ กห.ของประเทศออสเตรเลีย แคนาดา และสหราชอาณาจักรมาประยุกต์ใช้ เป็ นการบริหารงานฐานกระทรวง ให้กระทรวงเป็ นนิติบุคคล ระดับเดียว โดยลดสภาพความเป็ นนิติบุคคลของ นขต.กห. และเหล่าทัพ ปลูกฝังวัฒนธรรมองค์กร ค่านิยมในเรืองเส้นทางอาชีพของบุคลากรใน กห.ทีถูกต้อง พัฒนาผู้บริหารระดับสูงและระดับกลาง ให้สามารถเป็ นผู้นําการเปลียนแปลง มีนวัตกรรมทางแนวความคิด ปฏิรูประบบการบริหารจัดการ และการพัฒนากาลังพลทุกประเภทใน กห. ทั ํ /งระบบ มีความเข้มงวดในคัดเลือก บรรจุ เลือนขั/น/ยศ หรือ ปรับย้าย บุคลากร รวมทั/งกาหนดค ํ ่านิยมร่วม ให้เกิดการปฏิรูปอยางต ่ ่อเนือง ใน กห.

abstract:

ABSTRACT Title Reform direction of the Ministry of Defence’s strategic management and or ganisation structure that supports leading role of the Royal Thai Armed Forces in the ASEAN community Field Military Study Name LTG. Thitinant Thanyasiri, Course NDC (SPP), Class 7 This research paper aimed to analyse environment and issues and subsequently propose reform direction of the Ministry of Defence (MOD)’s strategic management and organisation structure that refect international standard, subscribe to the direction of Thailand’s overall bureaucratic reform and support the leading role of the Royal Thai Armed Forces (RTAF) in the ASEAN community. The paper limited its scope of study to the Office of the Permanent Secretary of Defence and RTAF. Qualitative research methodology was used in which literature reviews were conducted on the history of Thailand’s bureaucratic reform, reform effort of MOD, relevant research papers, and activities and roles of the MOD in the ASEAN Community. The paper analysed strategic management systems and styles and organisation structures of the Australian, Canadian and United Kingdom’s MOD that were quite similar and used them as models or best practices in proposing the reform direction. For comparative purpose, structures of MOD of other 9 ASEAN countries were studied. Interviews of 17 former and current top MOD executives were conducted. The above information was analysed using SWOT analysis regime under the frameworks of McKinsey 3-S and PESTEL analysis. This paper synthesized the above information and analysis results and then proposed review of the defence strategy that involve stakeholders from outside MOD; genuinely reflect current and future environment; and accurately render clear directives for MOD. The paper suggested Thai MOD adopt the three countries’ MOD system, style and structure such as the diarchic structure, high-level committees and line of authority and accountability system. The new structure has the ministry as the sole legal entity with strategic management based on the ministry not on its subunits. The MOD should instil organization culture and values that embrace appropriate MOD career path, competency of middle and top managers and continuous development of MOD. The current system of MOD human resource management and development must be reformed.