Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: หลักธรรมาภิบาลกับการพัฒนาองค์กรรัฐวิสาหกิจ : กรณีศึกษาบริษัท การบินไทย จำกัด (มหาชน)

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาง ชาริตา ลีลายุทธ
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2556
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

บทคัดย่อ เรื่อง หลักธรรมาภิบาลกับการพัฒนาองค์กรรัฐวิสาหกิจ: กรณีศึกษา บริษัท การบินไทย จ ากัด (มหาชน) ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา ผู้ท าวจิยั นางชาริตา ลีลายุทธ หลักสูตร วปม. รุ่นที่ 7 การวิจัยเรื่องหลักธรรมาภิบาลกับการพัฒนาองค์กรรัฐวิสาหกิจ: กรณีศึกษา บริษัท การบินไทย จ ากัด (มหาชน) ฉบบั น้ีจดั ทา ข้ึนโดยมีวตัถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นของ พนักงานที่มีต่อการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหาร ระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ของพนักงาน และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารกับความ พึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัท การบินไทย จ ากัด (มหาชน) กลุ่มตัวอย่างในการศึกษา เป็นพนักงานในระดบัผบู้ริหารต้ังแต่ผูอ้า นวยการฝ่ายลงมา และพนักงานระดบั ปฏิบตัิการ จา นวน ท้งัสิ้น 394คน ส าหรับเครื่องมือที่ใชใ้นการศึกษาคือแบบสอบถามที่พฒั นาข้ึนมาจากแนวคิดดา้น ธรรมาภิบาลและความพึงพอใจในการปฏิบัติงานตามทฤษฎี 2 ปัจจัย (Herzberg , 1964) ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็ นเพศหญิง มีอายุ 41 – 50 ปี ส าเร็จ การศึกษาในระดับปริญญาตรี ปฏิบัติงานในต าแหน่งพนักงานระดับปฏิบัติการ ในสายงานปฏิบัติการ มีอายุงาน 21 - 30 ปี โดยกลุ่มตัวอย่างมีความคิดเห็นในระดับไม่แน่ใจว่าคณะผู้บริหารที่ด ารงต าแหน่ง ผอู้า นวยการใหญ่หรือเทียบเท่าข้ึนไปมีการบริหารตามหลกัธรรมาภิบาลหรือไม่ท้งัในภาพรวมและทุก ด้าน และมีระดับความคิดเห็นต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงานในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ส่วน ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารกับความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน ของพนักงานบริษัท การบินไทย จ ากัด (มหาชน) น้นั พบว่า มีความสัมพนัธ์เชิงบวกท้งัในภาพรวม และรายด้าน โดยแสดงความสัมพันธ์ในระดับปานกลาง ข้อเสนอแนะจากผลการศึกษา บริษัทฯ ควรพัฒนาเรื่องการสื่อสารนโยบายและแนว ปฏิบตัิดา้นธรรมาภิบาลที่ชดัเจนไปสู่ทุกระดบั รวมท้งัเสริมสร้างความรู้ความเขา้ใจในเรื่องดงักล่าวท้งั ในผบู้ริหารระดบั สูงและพนกังานทุกระดบั เช่นเดียวกนั อีกท้งัควรสร้างความโปร่งใส และเป็ นธรรม ในการบรรจุ แต่งต้งั พนกังาน ทบทวนกฎ ระเบียบต่าง ๆ เพื่อสร้างขวญั และกา ลงัใจใหแ้ก่พนกังาน

abstract:

Abstract Title Corporate Governance in State Entreprise: A case study of Thai Airways International Public Company Field Social-Psycology Name Mrs. Charita Leelayuth Course NDC(SPP) Class 7 The objective of corporate governance in state enterprise: a case study of Thai Airways International published company limited research is to investigate the perception toward corporate governance, job satisfaction and the relationship between corporate governance and employee job satisfaction. The sample of this study is the employee in director, department, division position and the operation level. The total of 394 employees from the company returned complete questionnaires. The questionnaire was developed from the concept of corporate governance and job satisfaction according to two factors theory of Herberg (1964). There were significant a positive medium correlations both by factors and overall between corporate governance and job satisfaction. The sample mostly is female age between 41-50, bachelor degree, and work for operation level in operation department for 21-30 years of services. The sample is not confident that the senior executive are perform corporate governance by factors and overall score. Overall job satisfaction are perceived at high level This research suggests the company to communicate the corporate governance policy and guideline practice clearly at all level of employee. In addition the company should focus on the area of transparency and equitable treatment in recruitment, promotion and review all of rule and procedure that reflect the good corporate governance in order to improve the employee motivation and engagement.