Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางในการพัฒนาภาคธุรกิจประกันวินาศภัย เพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเศรษฐกิจ/Economics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย จุลพยัพ ศรีกาญจนา
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2556
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื อง แ น ว ท า ง ก า ร พัฒ น า ภ า ค ธุ ร กิจ ป ร ะ กัน วิ น า ศ ภัย เ พื อ ร อ ง รั บ การเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ ผ้วิจัย ู นายจุลพยัพ ศรีกาญจนา หลักสูตร วปม. ร่นที ุ * งานวิจัยนี+มีวัตถุประสงค์เพือศึกษาวิเคราะห์โครงสร้างภาคธุรกิจประกันวินาศภัย นโยบายของรัฐ ระบบภาษีอากร การกากํ บดูแลธุรก ั ิจประกนวินาศภัย รวมถึงปัญหาและอุปสรรค ั ของการพัฒนาภาคธุรกิจประกนวินาศภัยของไทย ตลอดจนขนาดตลาดของธุรก ั ิจประกนวินาศภัย ั ในอาเซียน รวมถึงพันธกรณีในสาขาประกันวินาศภัยทีไทยมีในกรอบการเปิ ดเสรี ทวิภาคีและ พหุภาคีต่างๆ และเสนอแนะแนวทางในการพัฒนาภาคธุรกิจประกนวินาศภัยเพือรองรับการเข้าสู ั ่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน โดยเป็ นงานวิจัยเชิงคุณภาพจากเอกสาร (Documentary research) และ วิเคราะห์ถึงแนวทางการพัฒนาภาคธุรกิจประกนวินาศภัยจากประสบการณ์ตรงทีรองรับด้วยสถิติ ั และข้อมูลอ้างอิงทีเชือถือได้ ซึ งในช่วง HI ปี ทีผ่านมาภาคธุรกิจประกนภัยของไทยมีการขยายตัว ั อยางรวดเร็วและมีแนวโน้มเติบโตอย ่ ่างต่อเนือง อย่างไรก็ตาม จํานวนของบริษัทประกนวินาศภัย ั ลดลงในช่วง 10 ปี ทีผ่านมา เนืองจากบริษัทประกนวินาศภัยประสบปัญหาเก ั ี ยวกบฐานะการเงิน ั และการดําเนินการทีบกพร่องส่งผลให้บริษัทดังกล่าวถูกเพิกถอนใบอนุญาต นอกจากนี+ ภาคธุรกิจ ประกนภัยไทยยังต้องเผชิญความท้าทายจากการเปิ ดเสรีสาขาประก ั นภัยตามทีผูกพันไว้ภายใต้กรอบ ั อาเซียนภายในปี HMNO ซึงจะเป็ นสิงท้าทายสําหรับธุรกิจประกนวินาศภัย อย ั างไม ่ ่สามารถหลีกเลียง ได้ โดยเฉพาะบริ ษัทประกันวินาศภัยขนาดกลางและขนาดเล็กทีไม่มีต่างชาติถือหุ้นหรื อ เป็ นหุ้นส่วน หรือไม่ได้เป็ นบริ ษัทในเครือของธุรกิจธนาคาร งานวิจัยชิ+นนี+จึงได้เสนอแนวทาง ในการพัฒนาภาคธุรกิจประกันวินาศภัยทีควรดําเนินการสําหรับภาคเอกชน ได้แก่ (Q) การจัด โครงสร้างองค์กรทีสนันสนุนกระบวนการทํางานให้มีประสิทธิภาพ (H) การพัฒนาผลิตภัณฑ์ ประกนภัยทีตอบสนองต ั ่อความต้องการของตลาด (O) การสร้างเครือข่ายทางธุรกิจ ในประเทศและ อาเซียน และ (S) การบริ หารจัดการ/การกระจายการรับประกนภัยเพือลดความเสียง (Portfolio ั Diversification) ข้อเสนอแนะสําหรับภาครัฐประกอบด้วย (Q) การปฏิรูปกฎหมายและเกณฑ์ การกํากับดูแลภาคธุรกิจประกันวินาศภัยเพือให้สอดคล้องกับการทําธุรกิจ (H) นโยบายและ มาตรการสนับสนุนของรัฐในการพัฒนาภาคธุรกิจประกนวินาศภัย รวมถึงนโยบายสนับสนุนอืนๆ ั

abstract:

ABSTRACT Title Guidelines for supporting the non-life insurance sector toward the ASEAN Economic Community Field Economics Name Chulapayap Srikanjana Course NDC (SPP) Class " Insurance sector is a part of the financial system which plays a significant role to the social and economic development of Thailand. Specifically, insurance sector is the intermediary which channels the saving of household to finance the long term investment of the business sectors. This paper aims to study Thai non-life insurance sector in term of business structure, related taxes, public policies, rules and regulations. In addition, the study also includes the overview of non-life insurance market in ASEAN as well as the commitments of Thai non-life insurance sector under WTO and ASEAN Free Trade Asia. From the study, non-life insurance sector has rapidly and continuously growing during the last 2 decades. Nevertheless, the number of companies in this sector shrank down due to the firms’ financial and operational problems. Apart from this, non-life insurance sector also need to face with the challenge from the upcoming ASEAN free trade area in this sector by 2020. This is especially crucial for the small and medium firms that stand alone, solely hold by Thai shareholders and are not belong to the banking group. Correspondingly, this paper provides the recommendations in order to support the development in this sector both for public and private sectors. For the private side, this comprises of (1) reorganizing the firm’s structure to support the efficient working process (2) innovating the new non-life insurance products that satisfy the consumer’s needs (3) building the business network both domestically and regionally, and (4) diversifying the firm’s insurance portfolio. On the other hand, for the public sector, this includes (1) reforming related rules and regulations to support the business practices (2) launching the supportive measures and policies to facilitate sustainable development of non-life insurance sector.