Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการส่งเสริมศักยภาพคณะกรรมการพัฒนาสตรีในการพัฒนาท้องถิ่นในจังหวัดมหาสารคาม

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาง กุสุมาลวตี ศิริโกมุท
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2556
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง แนวทางการส่งเสริมศกัยภาพคณะกรรมการพฒั นาสตรีในการพฒั นาทอ้งถิ่นในจงัหวดั มหาสารคาม ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา ผู้วจิยั นาง กุสุมาลวตี ศิริโกมุท หลักสูตร วปม. รุ่นที่ 7 การศึกษาคร้ังน้ีมีวตัถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณสมบตัิของผนู้ า สตรีในการพฒั นาทอ้งถิ่น ในจังหวัดมหาสารคาม ปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาสตรีเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นในจังหวัด มหาสารคาม สร้างกลยทุ ธก์ ารพฒั นาสตรีเพื่อการพฒั นาทอ้งถิ่นในจังหวัดมหาสารคามที่เหมาะสม และ ประเมินผลการใชก้ลยทุ ธก์ ารพฒั นาสตรีเพื่อพฒั นาการทอ้งถิ่นในจงัหวดัมหาสารคาม การวิจยั แบ่งออกเป็ น 3 ระยะ คือ ระยะที่ 1 เป็ นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยการถอด บทเรียนจากผู้น าสตรีที่ประสบผลส าเร็จ ระยะที่ 2 เป็ นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เพื่อสร้างกลยทุ ธก์ ารพฒั นาสตรีเพื่อการพฒั นาทอ้งถิ่นโดยเปิดโอกาส ให้มีการวิพากษ์กลยุทธ์การ พฒั นาสตรีเพื่อการพฒั นาทอ้งถิ่นที่เป็นฉบบัร่างจากผทู้รงคุณวุฒิดา้นการพฒั นา สตรีและระยะที่3 เป็ นการวิจัยเชิงกึ่งทดลอง (Semi-Experimental Research) เพื่อทดลองใช้และประเมินผลกลยุทธ์การ พฒั นาสตรีเพื่อการพฒั นาทอ้งถิ่น โดยใชส้ถิติt-test (Dependent) ผลการศึกษา พบว่า คุณสมบัติ ของผนู้ า สตรีเพื่อการพฒั นาทอ้งถิ่นในจงัหวดั มหาสารคาม ที่มีอายุระหว่าง 26-59 ปี มีความกล้า แสดงออก การมีจิตอาสาหรือจิตสาธารณะในการพัฒนาสังคม การเรียนรู้ แก้ปัญหา และการมี สุขภาพร่างกายที่แข็งแรงอยเู่สมอและมีเจตคติที่ดีต่อการพฒั นา ส่วนกลุ่มอายุต้งัแต่60 ปีข้ึนไป มี ความกล้าแสดงออก มีความเสียสละและจิตอาสาในการพัฒนาสังคม และการรักษาสุขภาพร่างกายที่ ดี การเรียนรู้การแก้ปัญหา และมีเจตคติที่ดีต่อการพัฒนา ปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาผู้น าสตรีเพื่อ การพฒั นาทอ้งถิ่นในจงัหวดัมหาสารคาม สตรีกลุ่มอายุระหว่าง 26-59 ปี ได้แก่ ความต้องการเป็ น ผู้น ามีการเรี ยนรู้ อยู่เสมอ อิทธิพลจาก ค าสอนของพุทธศาสนา การได้รับการปลูกฝังเรื่ องการ เสียสละและจิตอาสาจากบรรพบุรุษท าให้มีเจตคติที่ดีต่อการพัฒนา และการดูแลสุขภาพร่างกายให้ แข็งแรงอยเู่สมอและภาวะผนู้ า และมนุษยสมั พนัธ์และสตรีกลุ่มอายุต้งัแต่60 ปีข้ึนไป มาจากการ หลกัคา สอนของพุทธศาสนา เกิดจิตส านึกข้ึนในตนเองที่ปรารถนาในการแก้ปัญหาให้ผอู้ื่นและ ชุมชน และการดูแลสุขภาพร่างกาย และต้องการเรียนรู้อยู่เสมอ ข ผลการสร้างกลยุทธ์แนวทางการพัฒนาสตรีเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นในจังหวัด มหาสารคาม หลังจากการได้รับการวิพากษ์และข้อเสนอแนะจากผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการพัฒนา สตรี ออกมา ในรูปกิจกรรมการฝึ กอบรม จ านวน 5 กิจกรรม ได้แก่ การฝึ กอบรมด้านการดูแล สุขภาพ ด้านธรรมะ เพื่อการพัฒนาคุณธรรม ด้านการวิเคราะห์ปัญหาและกลยุทธ์การแก้ปัญหา ด้าน การเขียนโครงการ และการจัดทัศนศึกษาดูงาน ผลการประเมินกลยุทธ์แนวทางการพัฒนาสตรีเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นในจังหวัด มหาสารคาม พบว่า คะแนนหลังการใช้กลยุทธ์การพัฒนาสตรีเพื่อการพัฒนาทอ้งถิ่นสูงกว่าก่อนการ ใชก้ลยทุ ธก์ ารพฒั นาสตรีเพื่อการพฒั นาทอ้งถิ่น ซ่ึงเป็นไปตามสมมติฐานที่ต้งัไว้

abstract:

Abstract Title: An Approach of Enhancing the potential of Woman Development Committee for Local Development in Mahasarakham Field:Psychology Sociology Name : Mrs.Kusumalwati Sirikomut Course: NDC (SPP) Class 7 This study aims at local Development in Mahasarkham in 4 aspects composed of studying woman leaders’ qualification, studying factor affecting woman development building-up appropriate woman development strategies, and evaluating the woman development strategies. The research is divided into 3 phases. The first one is a qualitative research undertaken by imitating the lessons of successful woman leaders. The other is also a qualitative research conducted by building￾up woman development strategies for local development commented in form of a draft version by woman development experts. The last one is a semi-experimental research experimented with t-test (dependent) by evaluating the strategies mentioned. From this study, it can be seen the woman leaders’ qualifications for local development in Mahasarakham both aged 26-59 years old and 60 years old or more are composed of having the courage of expression, having public consciousness for social development, learning and solving the problem, being healthy, and having positive attitude towards development. The affected factors of woman leader development for local development in Mahasarakham both aged 26-59 years old and 60 years old or more are the same in 3 areas consisting of learning at all times, taking care of health, and obtaining influence on Buddhist principles. Both are different from each other in teamsof the origin of public consciousness to solve the problem for others and communities, The consciousness of the former is originated from their ancestors while of the latter is originated from themselves. However, a desire for being leaders is an additional area of the former. The result of building-up the woman development strategies commented and suggested by involved participants relevant to woman development by means of training courses in 5 activities is taking care of health, Dhama for the ethics of development problem analysis and solution strategies, guideline on project writing, and study visit. The evaluation of the woman development strategies is found that the score after being implemented the strategies mentioned is higher than its score before the implementation of those strategies according to the hypothesis formulated.