Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการทดลองปฏิบัติงานก่อนการบรรจุบุคคลพลเรือนเข้ารับราชการในกองบัญชาการกองทัพไทย

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการทหาร/Military
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี กสิณกฤษฏิ์ พงษ์เขียว
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2556
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื อง แนวทางการทดลองปฏิบัติงานก่อนการบรรจุบุคคลพลเรือนเข้ารับราชการ ในกองบัญชาการกองทัพไทย ลักษณะวิชา การทหาร ผ้วิจัย พลตรี กสิณกฤษฏิ+ พงษ์เขียว หลักส ู ูตร วปอ. ร่นที ./ ุ การศึกษาในครั งนี มีวัตถุประสงค์เพือเปรียบเทียบความรู้ในงานของกาลังพลสังก ํ ดั กองบัญชาการกองทัพไทยทีผ่านการทดลองปฏิบัติงานก่อนบรรจุเข้ารับราชการกบผู้ทีไม ั ่ได้ผ่าน การทดลองปฏิบัติงาน ศึกษาความคิดเห็นของนายทหารสัญญาบัตรและนายทหารประทวน ต่อแนว ปฏิบัติเกี ยวกบการทดลองปฏิบัติงานก ั ่อนการบรรจุบุคคลพลเรือนเข้ารับราชการ และเพือเสนอ เสนอแนวทางการทดลองปฏิบัติงานก่อนการบรรจุบุคคลพลเรือนเข้ารับราชการในกองบัญชาการ กองทัพไทย งานวิจัยครั งนี เป็ นงานวิจัยเชิงปริมาณ ดําเนินการโดยทําการทดสอบความรู้ของกาลัง ํ พลกลุ่มสารวัตรทหารทีผานและไม ่ ่ผานการทดลองปฏิบัติงานก ่ ่อนการบรรจุเข้ารับราชการกลุ่มละ 34 นาย และสํารวจความคิดเห็นของนายทหารสัญญาบัตรและนายทหารประทวนทีปฏิบัติงาน ณ กองบัญชาการกองทัพไทย แจ้งวัฒนะ จํานวน 367 นาย โดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ สถิติเชิงพรรณนาและการทดสอบที ผลการศึกษาพบว่ากาลังพลทีผ ํ ่านการทดลองปฏิบัติงานมี ความรู้ในงานดีกว่ากาลังพลทีไม ํ ่ผ่านการทดลองปฏิบัติงานอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ และทั ง นายทหารสัญญาบัตรและนายทหารประทวนเห็นด้วยในระดับสูงต่อแนวทางการทดลองปฏิบัติงาน ก่อนการบรรจุบุคคลพลเรื อนเข้ารับราชการ โดยความคิดเห็นของนายทหารทั งสองกลุ่มโดย ภาพรวมแตกต่างกนอย ั ่างไม่มีนัยสําคัญทางสถิติ แสดงให้เห็นว่าการทดลองปฏิบัติงานก่อนการ บรรจุบุคคลพลเรือนเข้ารับราชการเป็ นเครืองมือด้านกาลังพลทีสําคัญทีสามารถใช้คัดกรองก ํ าลังพล ํ ก่อนเข้าสู่กระบวนการการบรรจุเข้ารับราชการในกองบัญชาการกองทัพไทยได้ อย่างไรก็ตาม เพือให้แนวทางดังกล่าวสามารถปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพและเป็ นผลดีกบทางราชการอย ั ่าง ยังยืน ควรจะต้องทําการศึกษาเพิ  มเติมถึงความแตกต่างของกาลังพลทีผ ํ ่านและไม่ผานการทดลอง ่ ปฏิบัติงานในประเด็นอืน ๆ เช่น ความรับผิดชอบในงาน ทัศนคติต่องานและองค์กร รวมถึงขยาย การกาหนดแนวทางปฏิบัติให้ครอบคลุมทั ํ งกระทรวงกลาโหมต่อไป

abstract:

ABSTRACT Title Guidelines for the Probation of the Civilian before Assignation to the Royal Thai Armed Forces Headquarters Field Military Name Maj. Gen. Kasinkrit Phongkhieo Course NDC Class 56 The objectives of this research were to compare work knowledge of the personnel of the Royal Thai Armed Forces Headquarters who went through the probation system and those who did not, to study opinions of the officers and the non-commissioned officers towards the guidelines for probation before assignation to the Royal Thai Armed Forces Headquarters, and to recommend the appropriate guidelines. This research is a quantitative research. The investigator tested work knowledge of 60 military polices. Thirty of them went through the probation system while the other 30 did not. Questionnaire was used in an opinion survey and 378 officers participated in the survey. The survey data was analyzed by using descriptive statistics and t-test. The study results revealed that the personnel of the Royal Thai Armed Forces Headquarters who went through the probation system had work knowledge more than those who did not went through the probation system and the differences in work knowledge were significant. Both officers and non-commissioned officers highly agreed with the guidelines for probation before assignation the civilian to the Royal Thai Armed Forces Headquarters and their overall opinions were not significantly different. The study results led to the conclusion that the probation system could be used as a crucial tool in screening civilian before assignation to the Royal Thai Armed Forces Headquarters. However, more in-depth studies might needed to be done in order to develop more efficient guidelines that could be broadly apply within the Ministry of Defense e.g. the comparative study of personnel with and without probation system on job responsibility, attitude toward job and organization, etc.