เรื่อง: แนวทางการพัฒนาสมรรถนะหลักผู้บังคับหน่วย : ศึกษากรณีหน่วยในพื้นที่กองทัพภาคที่ 3
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการทหาร/Military
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี การุญ รัตนสุวรรณ
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2556
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
- ก -
บทคัดย่อ
เรื
อง แนวทางการพัฒนาสมรรถนะหลักผู้บังคับหน่วย : ศึกษากรณีหน่วยในพื#นที$
กองทัพภาคที$ ๓
ลักษณะวิชา การทหาร
ผ้วิจัย ู พล.ต.การุญ รัตนสุวรรณ หลักสูตร วปม. ร่นที
ุ ๗
การดําเนินการวิจัยครั#งนี#เป็ นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยการค้นคว้าข้อมูลจากเอกสาร
ในส่วนที$เกี$ยวข้องกบแนวคิด ทฤษฎี นโยบายต ั ่าง ๆ ที$เกี$ยวข้อง และการศึกษาจากเอกสารวิจัย
ที$เกี$
ยวกบแนวความคิดในการพัฒนาสมรรถนะ นําแบบประเมินผลการปฏิบ ั ัติราชการของกองทัพบก
จัดกลุ่มข้อมูลที$มีลักษณะเช่นเดียวกบแนวคิดเก ั ี$
ยวกบสมรรถนะ คือ ความรู้ (Knowledge) ทักษะทาง ั
วิชาชีพทหาร (Skill) และคุณลักษณะส่วนบุคคล (Personal Attribute) สร้างเป็ นแบบสอบถามลักษณะ
ปลายปิ ดแบบมาตราส่วนประมาณค่า ๕ ระดับ โดยการสัมภาษณ์ผู้บังคับหน่วยระดับผู้บังคับกองพัน
และผู้บังคับการกรม ในพื#นที$กองทัพภาคที$ ๓ จํานวน ๓๕ นาย เพื$อรวบรวมข้อคิดเห็นต่าง ๆ
วิเคราะห์ข้อมูลที$ได้ตามแนวคิดที$เกี$
ยวกบสมรรถนะ นําเสนอเป็ นแนวทางในการพัฒนาสมรรถนะ ั
ผู้บังคับหน่วยต่อไป
ผลการวิจัยพบว่าระเบียบการประเมินค่าการปฏิบัติงานกําลังพลของกองทัพบก
ในปั จจุบันรายการประเมินค่ามีความสอดคล้องกับแนวคิดในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
ผู้บังคับบัญชาส่วนใหญ่ เห็นว่าการเพิ$มพูนความรู้ และทักษะของบุคคล มีความจําเป็ นเร่งด่วน
ทั#งในด้านความคิดเห็นที$มีต่องานและผลของการปฏิบัติงานของบุคลากรให้ดียิงขึ $ #นกวาเดิม โดยการ ่
พัฒนาบุคคลตามแนวคิดของการพัฒนาสมรรถนะ (Competency) ๓ เรื$ อง คือ การฝึ กอบรม
(Training) การศึกษา (Education) และการพัฒนา (Development) บุคคลสามารถพัฒนาสมรรถนะ
ของตนเองได้ด้วยการแสวงหาความรู้ โดยที$หน่วยต้องมีส่วนช่วยด้วยการจัดตั#งห้องเรียนของหน่วย
(Unit School) และการเก็บเก
ี$ยวประสบการณ์ในการปฏิบัติงานมีส่วนช่วยเสริมสร้างสมรรถนะของ
บุคคล จากภารกิจที$ได้รับมอบที$หลากหลายหน่วยในแต่ละระดับจะมีขั#นตอนการปฏิบัติงาน
ที$แตกต่างกนไป ซึ$ งย ั ่อมต้องใช้กระบวนการคิดการตัดสินใจในการสั$งการ มีการประสานงาน
มากขึ#น อันจะส่งผลต่อการเพิ$มพูนสมรรณนะให้กบบุคคลได้เป็ นอย ั ่างดีเปรียบเหมือนการสั$งสม
ความรู้ ความสามารถ ทักษะการปฏิบัติงานในด้านต่าง ๆ เพื$อเตรียมความพร้อมในโอกาสกาวไปสู ้ ่
ตําแหน่งหน้าที$การงานที$สําคัญในโอกาสต่อไป
abstract:
ABSTRACT
Title A Guideline for Competency Development of a Commander
: A Case Study of the 3rd Army Area
Field Military
Name Maj.Gen. Karoon Ratanasuwan Course NDC (SCC) Class 7
This study is aimed to identify competency required for a commander in Thai Army
and to propose a guideline for competency development. The 3rd Army Area is used as a case
study for data collection where 27 Battalion Commanders and 8 Brigade Commanders were indepth interviewed. This study includes literature review of previous research, concepts and policy
related to competency development as well as Thai Army performance assessment in order to
generate the open-ended questionnaire with 5 Likert scale. Knowledge, military skill, and
personal attributes are included in the questionnaire. Interviews for ideas and suggestions are
conducted and data are analyzed to be a guideline for competency development model.
The result of the study is complied with the assessment of performance used in
ThaiArmy.Additional competency and Key Performance Index are added and grouped into the
model according to the concept of human development. From the study, most of the commanders
find that obtaining of extra knowledge and personal skill is an urgent requirement to increase
good attitude impacting their work and working performance. The personal development includes
training, education and development.
The individual can develop his competency by inquiring knowledge himself, selfdevelopment for his intelligence together with the support from the organization. School unit of
the organization needs to be introduced. Working experiences from various types of work
assigned will increase personal competency. Different levels of units in the organization require
different competencies and thus the experiences collecting from various assignments increase
knowledge and skill of a person and make him to be ready for the higher position in the Army.