Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางความร่วมมือในการปราบปรามยาเสพติดกับกลุ่มประเทศอาเซียน

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตำรวจตรี ธนาศักดิ์ ฤทธิเดชไพบูลย์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2556
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง แนวทางความร่วมม ื อในการปราบปรามการค้ายาเสพติดกับกลุ่มประเทศ อาเซียน ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา ผู้วจิยั พลตา รวจตรีธนาศักด์ิฤทธิเดชไพบูลย ์ หลักสูตร ปรอ.รุ่นที่๒๖ งานวิจัยเรื่อง แนวทางความร่วมมือในการปราบปรามการค้ายาเสพติดกับกลุ่มประเทศ อาเซียน มีวตัถุประสงค์ของการวิจยั เพื่อศึกษาแนวนโยบาย และแผนปฏิบตัิการรวมท้งัแนวทาง ความร่วมมือในการปราบปราม การค้ายาเสพติดของประเทศต่าง ๆ แผนการปฏิบัติงาน ของกลุ่ม ประเทศอาเซียนและ เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์ ปัญหาอุปสรรคและ ผลการด าเนินงานด้านการค้ายา เสพติดในเชิงเปรียบเทียบของ ๑๐ ประเทศในกลุ่มอาเซียน และ เพื่อก าหนดรูปแบบการพัฒนาความ ร่วมมือของการปราบปรามการค้ายาเสพติดในกลุ่มประเทศอาเซียน ให้สามารถเชื่อมโยงการปฏิบัติ ให้มีประสิทธภาพสูงสุด วิธีด าเนินการวิจัย เป็ นการวิจัยจากเอกสาร (Document Research )โดย การรวบรวมจากผลงานวิจัย และบทความทางวิชาการ (documents) เกี่ยวกับนโยบายการ ปราบปรามยาเสพติดของกลุ่มประเทศอาเซียน ๑๐ ประเทศ ผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ พบว่าด้านแนวนโยบาย และแผนปฏิบัติการ และ สถานการณ์ในการปราบปรามการค้ายาเสพติดของประเทศต่าง ๆ แผนการปฏิบัติงาน ของกลุ่ม ประเทศอาเซียน ยังไม่มีการประสานงานเป็ นหนึ่งเดียว จึงท าให้มีความหลากหลายไม่เป็ นไปใน แนวเดียวกัน ดงัน้นั จึงควรกา หนดให้การปราบปรามยาเสพติดเป็นวาระแห่งอาเซียน ส่วนดา้น สถานการณ์ และ ผลการด าเนินงานด้านการค้ายาเสพติด ในการปราบปรามยังไม่ค่อยได้ผล เท่าที่ควร เนื่องจากการประสานความร่วมมือกันยังไม่เต็มที่ จึงท าให้เกิดปัญหาอุปสรรคหลาย ประการในดา้นการกา หนดรูปแบบการพฒั นาความร่วมมือทางการปราบปรามการคา้ยาเสพติดน้ัน พบว่าควรมีรูปแบบการจดั ต้งัศนู ยป์ ราบปรามยาเสพติดในกลุ่มประเทศอาเซียน โดยให้ทุกประเทศ ในอาเซียนเข้ามามีส่วนร่วมกันอย่างจริงจัง มีการประสานข้อมูลเชื่อมโยงกันด้วยระบบเทคโนโลยี ที่ทันสมัย รวมถึงการจัดรูปแบบการศึกษาอบรมและการฝึ กอบรมร่ วมกันในประเทศภูมิภาค อาเซียน ตอ้งพฒั นาโครงการปลกู พืชทดแทนการปลกูฝิ่นและการปลูกกญั ชาตามแนวชายแดน อีก ท้งัการพฒั นารูปแบบทางกฎหมายในการบังคบั ใช้กฎหมายปราบปรามยาเสพติดให้เป็นไปใน ทิศทางเดียวกันในกลุ่มประเทศอาเซียน และที่ส าคัญคือจะต้องส่งเสริมความมีส่วนร่วมของภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน รวมถึงชุมชนให้เข้ามามีบทบาทอย่างเต็มที่ในการปราบปรามการค้า ยาเสพติดให้ได้ผล อย่างมีประสิทธิภาพ

abstract:

Abstract Title : Approach in ASEAN Cooperation on Countering Narcotics Trade Field : Social-psychology Name Pol.Maj.Gen.Tanasak Rititidechpaiboon Course NDC (JSPS) Class 26 The objective of this research, “Approach in ASEAN Cooperation on Countering Narcotics Trade” is to study the policy and planning on anti-narcotics trade efforts of both individual and collective Association of South-East Asian Nations (ASEAN) countries in order to analyse the situation on the their implementations as well as their obstacles. The research additionally provides a comparative analysis of the results of the implementations of anti￾narcotics trade policy in all 10 ASEAN countries, and the analysis is used to design an approach to develop a cooperation on countering narcotics trade within ASEAN, wherein operational linkages can be established to maximise the effectiveness of the policy implementation. The methodology of this research is document research, which was carried out by reviewing selected researched and articles of relevant journals on the subject of anti-narcotic policy in ASEAN. The analysis and recommendation made in this research have found that policy and planning on counter-narcotics trade of ASEAN lack both coordination and cohesion. Thus, this research recommends that counter-narcotics trade should be prioritised as an agenda for ASEAN. In addition, on the situation and results of the policy implementation thus far, the effectiveness of the operation in 10 ASEAN countries is not as satisfactory as it should be because of the gap in potential cooperation between ASEAN countries, which causes a number of operational obstacles. On the recommended approach to develop a cooperation to counter narcotics trade, it is suggested that an ASEAN coordination centre is established to pool information resources with up-to-date database system as well as to provide individual and joint-ASEAN trainings. It is also recommended that there should be a project development to encourage commercial growers of opium and cannabis along border areas to switch to alternative crops and that anti-narcotics law enforcements in ASEAN should be developed in a harmonised manner. Most importantly, it is suggested, there must be cooperation and participation from all stakeholders, including the public and private sectors as well as the general public and particularly local communities, in order to implement efficient law enforcements for countering narcotics trade.