Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: กลยุทธ์การบริหารสำรองน้ำมันแห่งชาติเพื่อเพิ่มความมั่นคงในการจัดหาพลังงาน

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการศึกษา/Education
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย เสรี วิริยะสกุลธรณ์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2556
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื อง กลยุทธ์การบริหารสํารองนํามันแห่งชาติเพือเพิมความมันคงในการจัดหาพลังงาน  ลักษณะวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผ้วิจัย ู นายเสรี วิริยะสกุลธรณ์ หลักสูตร ปรอ. รุ่นที ๒๖ การวิจัยนีมีวัตถุประสงค์ เพือศึกษากลยุทธ์การบริหารสํารองนํามันแห่งชาติเพือเพิม ความมันคงในการจัดหาพลังงานของประเทศไทย ขอบเขตการวิจัยนี  ต้องการค้นหาจํานวนวันของ การใช้นํามันทีเหมาะสมสําหรับการสํารองนํามันแห่งชาติควรอยูทีระดับใดโดยคํานึงถึงเป้ าหมายที ่ สมดุลของความมันคงในการจัดหาพลังงาน ต้นทุน และภาระความรับผิดชอบของรัฐบาล ผู้ประกอบการและผู้บริโภค วิธีดําเนินการวิจัย เป็ นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยวิเคราะห์จากเอกสาร บทความและงานวิจัยทีเกียวข้องกับการสํารองนํามันทังในและต่างประเทศ ผู้วิจัยได้เลือก กรณีศึกษาเพือเป็ นแม่แบบในการบริหารสํารองนํามันแห่งชาติของประเทศญีปุ่ นและเกาหลีใต้ ผลการวิจัยได้ข้อสรุ ปว่า จํานวนวันของการใช้นํามันทีเหมาะสมทีสุดสําหรับการสํารองนํามัน แห่งชาติควรเก็บทีระดับ ๖๓ วัน ซึ งจํานวนวันดังกล่าวสอดคล้องกบมาตรฐานสํารองนํ ั ามันของ ภูมิภาคอาเซียน แทนทีจะเก็บ ๙๐ วัน ตามมติของคณะกรรมการนโยบายพลังงานแห่งชาติกาหนด ํ โดยแยกเป็ นสํารองนํามันตามกฎหมายของภาคเอกชนคิดเป็ นสัดส่วนร้อยละ ๖ ของการใช้นํามัน โดยรวม หรือเก็บสํารองจํานวน ๔๓ วัน ทีเหลืออีก ๒๐ วัน ผู้วิจัยขอเสนอให้เก็บสํารองโดยภาครัฐ เนืองจากจํานวนวันของการสํารองนํามันทีมากเกินไป จะเพิมภาระด้านราคาให้แก่ผู้บริ โภค ประกอบกับโอกาสทีจะเกิดวิกฤตการณ์นํามันจนถึงระดับทีต้องนํานํามันสํารองออกมาใช้ใน ประเทศไทยมีน้อยมาก รวมทังนโยบายการส่งเสริมพลังงานทดแทนทีภาครัฐกาหนดให้เป็ นวาระ ํ แห่งชาติ ในรูปของเชือเพลิงชีวภาพ อาทิ เอทานอล ไบโอดีเซล ทีชัดเจนและเป็ นรูปธรรมเพือ ทดแทนนํามันนําเข้าในปัจจุบัน ได้ทําให้ประเทศสามารถพึงพาตนเองด้านพลังงานได้ดีขึน ประการ สําคัญ ในโอกาสทีไทยจะเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี ๒๕๕๘ ไทยควรใช้โอกาสนีใน การเจรจากบมิตรประเทศ เพือทําความตกลงในการจัดตั ั งคลังสํารองนํามันในอาเซียน ซึงจะทําให้ ทุกประเทศเกิดผลประโยชน์ร่วมกันในการเก็บสํารองนํามันเพือความมันคงของภูมิภาค ใน การศึกษานีผู้วิจัยขอเสนอให้มีการจัดตังองค์กรใหม่ขึนมามีภารกิจเฉพาะในการดูแลด้านการเก็บ สํารองนํามันของรัฐ ทังนีค่าใช้จ่ายทีใช้ในการเก็บสํารองนํามันโดยรัฐจํานวน ๒๐ วัน ขอเสนอให้ ใช้เงินสนับสนุนจากกองทุนนํามันเชือเพลิง เนืองจากการสํารองนํามันเป็ นประโยชน์ต่อผู้บริโภค โดยตรง

abstract:

Abstract Title The Strategy of Thai National Oil Stock Piling for increasing Energy Security Field Science and Technology Name Mr. Seri Viriyasakultorn Course NDC (JSPS) Class 26 The main objective of this research is seeking the appropriate strategy of Thai national oil stock piling management for increasing energy security in Thailand. Its scope is to find out the optimum days of total oil demand under the key factor of the balance target between the energy security and cost burden of the government, oil businesses and consumers. The method is descriptive research which will be analyzed from the relating both domestic and the foreign energy documents, articles and the research studies. The international suitable models of the national oil stock piling in the world which are used in this study are the Japanese and Korean cases. The optimum level for the Thai national oil stock piling management is 63 days which is more appropriate than 90 days. It divides into two parts. The first part comes from the private portion about 6 % of total oil demand or 43 days. Which is legal reserve The second part comes from the pubic portion about 20 days. The main reasons why we keep the oil reserve only 63 days instead 90 days are as follows: 1. Increasing the oil cost burden of the Thai consumers 2. The less opportunities to occur the oil crisis in Thailand 3. The national agenda of the great biofuel promotion such as ethanol and biodiesel of the Thai Government 4. Good energy cooperation among Asian countries after the opening Asian Economic Communities (AEC) This study proposes the specific organization to regulate Thai national oil stock piling management like JOGMEC of Japan and KNOC of Korea. The budget to operate this organization should come from Thai oil consumers who receive direct benefits from the project.