เรื่อง: การป้องกันและปราบปรามองค์กรอาชญากรรรมข้ามชาติและความมั่นคงของชาติ
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการทูต/Diplomacy
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย กรุณา พันธุ์เพ็ชร
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2556
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรืÉอง การป้
องกนัและปราบปรามองคก
์
รอาชญากรรมขา
้
มชาติและความมันคง É
ของชาติ
ผ
ู้วจิัย นายกรุณา พนัธุ์
เพช
็
ร หลกัสูตร วปอ. รุ่นท ๕๖ ีÉ
ตําแหน่ง อยัการผเู้
ชีÉยวชาญ สาํ นกังานอยัการสูงสุด
องค์กรอาชญากรรมข้ามชาติเป็นปัญหาสําคญั ของทุกประเทศจนทําให้องค์การ
สหประชาชาติ(United Nation) ไดจ้ดั ทาํอนุสัญญาสหประชาชาติเพืÉอต่อตา้นอาชญากรรมขา้มชาติ
ทีÉจดั ตÊงัในลกั ษณะองคก์ร ประเทศไทยไดอ้อกกฎหมายพระราชบญั ญตัิป้องกนัและปราบปรามการ
มีส่วนร่วมในองค์กรอาชญากรรมขา้มชาติพ.ศ.๒๕๕๖ เมืÉอผลบงัคบั เมืÉอเดือนกนั ยายน พ.ศ.๒๕๕๖
อนั เป็นการป้องกนั ปราบปรามองค์กรอาชญากรรมขา้มชาติและความมนคงของชาติ ัÉ ซึÉงเป็ นเรืÉองทีÉ
ผวู้จิยัไดท้ าํการวจิยัในเรÉืองนีÊ
วตัถุประสงคข์องการวิจยั เพืÉอศึกษาพระราชบญั ญตัิป้องกนัและการปราบปรามการมี
ส่วนร่วมในองค์กรอาชญากรรมขา้มชาติพ.ศ. ๒๕๕๖ อนั เป็นมาตรการป้องกนั และปราบปราม
องคก์รอาชญากรรมขา้มชาติซÉึงเป็นความผดิร้ายแรง เพÉือศึกษากระบวนการดาํ เนินคดีอาชญากรรม
ข้ามชาติทีÉจัดตัÊงใน ลัก ษณ ะองค์กรว่ามี ข้อดีข้อเสี ยอย่างไร เพืÉอศึกษามาตรการป้องกัน
และปราบปรามองค์กรอาชญากรรมข้ามชาติเมืÉอประเทศไทยจะก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
ใน ปีพ.ศ.๒๕๕๘ ขอบเขตของการวิจยัคือการจดัการปัญหาองคก์รอาชญากรรมขา้มชาติของประเทศ
ไทย โดยมีพระราชบญั ญตัิป้องกนั และปราบปรามการมีส่วนร่วมในองค์กรอาชญากรรมขา้มชาติ
พ.ศ.๒๕๕๖ เป็ นพืÊนฐานและเน้นการเปรียบเทียบระหว่างดําเนินคดีอาชญากรรมข้ามชาติ
ตามพระราชบญั ญตัินÊีกบัการดาํ เนินคดีอาญาทวไป ัÉ
วิธีดาํ เนินการวิจยั เป็นการวิจยัเชิงคุณภาพ โดยการสัมภาษณ์ผูเชี ้ ÉยวชาญทีÉมีหน้าทีÉใน
การปฏิบตัิงานในดา้นองคก์รอาชญากรรมขา้มชาติการคน้ควา้และศึกษาจากเอกสารกฎหมายต่างๆ
ทีÉเกีÉยวขอ้ง เอกสารงานวิจยัอืÉนๆ และตาํรากฎหมายโดยการวิเคราะห์ขอ้มูลทÉีไดม้ า เปรียบเทียบกบั
กฎหมาย หรือวิธีดาํ เนินคดีเกีÉยวกบัองคก์รอาชญากรรมขา้มชาติและวเิคราะห์ขอ้ดีขอ้เสียทีÉประเทศ
ไทยจะไดร้ับจากพระราชบญั ญตัิฉบบั นÊีเมืÉอประเทศไทยกา้วเขา้สู่ประชาคมอาเซียน สรุปหลกัการ
สําคญั ๆ ทัÊงหมดในของพระราชบัญญัตินีÊ และเหตุผลความจาํ เป็นของประเทศไทยทีÉต้องตรา
พระราชบญั ญตัิฉบบั นีÊข
ผลการวิจัย พบว่า องค์กรอาชญากรรมไทยแท้ๆไม่มีปัญหาในการดําเนินคดีกับ
ผกู้ระทาํความผดิ เพราะประเทศไทยมีประมวลกฎหมายอาญาสามารถบงัคบั ใชผ้กู้ระทาํความผิดได้
ต่อมามีผู้กระทําความผิดเป็นชาวต่างชาติและเข้ามากระทําความผิดอาชญากรรมข้ามชาติ
ในประเทศไทยทําให้การบังคับใช้กฎหมายไม่สามารถลงโทษผู้กระทําความผิดทÉีเป็ นชาว
ต่างชาติได้ต่อมาโลกาภิวตัน์ปัญหาอาชญากรรมขา้มชาติทÉีจดั ตÊงัในลกัษณะองคก์รทวคีวามรุนแรง
และเพิÉมมากขึÊน การกระทําความผิดสลับซับซ้อน ผู้กระทําความผิดมีความรู้ความสามารถ
มีอิทธิพลและทรัพยส์ินทÉีจะตอ่ สู้กบักระบวนการยตุ ิธรรมของประเทศไทย ส่งผลกระทบและความ
เสี ยหายต่อระบบเศรษฐกิจและความมัÉนคงของประเทศ ประมวลกฎหมายอาญาไม่สามารถ
ทีÉจะบงัคบั ใช้เอาผูก้ระทาํความผิดมาลงโทษไดท้ นั เหตุการณ์ปัญหาอาชญากรรมขา้มชาติทÉีจดั ตÊงัใน
ลักษณะองค์กรเป็ นปั ญหาสําคัญทุกประเทศทัÉวโลกจะต้องร่วมมือกัน ทัÊงด้านการป้องกัน
และปราบปรามผกู้ระทาํความผิดดงักล่าวและแลกเปลÉียนขอ้ มูลข่าวสารทุกชนิด รวมถึงเทคโนโลยี
สมยัใหม่ทÉีจะต่อตา้นและตอบโตเ้พืÉอให้องคก์รอาชญากรรมขา้มชาติหมดสิÊนไป
ขอ้ เสนอแนะ กาํหนดให้เป็นนโยบายสําคญั ของรัฐบาลให้ทราบถึงปัญหาและความ
ร้ายแรงของปัญหาองค์กรอาชญากรรมขา้มชาติทÉีส่งผลกระทบต่อสังคม เศรษฐกิจและความมันคง É
ของชาติให้ประชาชนและหน่วยงานของรัฐทราบถึงปัญหาองค์กรอาชญากรรมขา้มชาติโดยบูรณา
การภาครัฐกบั ภาคเอกชนใหท้ ราบถึงปัญหาและภยัคุกคามขององคก์รอาชญากรรมขา้มชาติโดยการ
อบรมสัมมนาให้ความรู้แก่ผูท้ ÉีเกÉียวขอ้งดงักล่าวก่อนทÉีประเทศไทยจะเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจ
อาเซียนในเดือนธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ ให้เจ้าหน้าทีÉผูบ้ งัคบั ใช้กฎหมายตามพระราชบัญญัตินÊี
ดาํ เนินการอยา่ งเคร่งครัดและเป็นธรรมกบัผูก้ระทาํความผิดตามพระราชบญั ญตัินÊีการใชม้ าตรการ
พิเศษต่างๆ ตามกฎหมายนีÊตอ้งเป็นไปดว้ยความเทีÉยงธรรมโปร่งใสและเขา้มาตรฐานสากลสมควร
แกไ้ขกฎหมายทีÉมีโทษทางอาญาบางประเภทใหส้ ูงขÊึนเท่ากบัความผิดร้ายแรงคือกาํหนดโทษจาํคุก
ขัÊนสูงตัÊงแต่๔ ปี ขึÊนไป หรือโทษสถานทีÉหนกักวา่ นÊนั
abstract:
Abstract
Title : TheProtection and Suppression Transnational Organized Crime and The National
Security
Field : Strategy
Name : Mr.Karuna Phunpetch Course NDC Class 56
In the present, globalization has changed the world, it became smaller and easier to
commute and communicate by the advanced technologies. The every parts of the world are now
connected, which make it easier for the criminal to form a Transnational Organized Crime. In the
past, Thai government did not have the sufficient law to deal with such complicated subject and
the law enforcer also lack of sufficient technologies to battle with such crime. It all resulted in
failure to bring Transnational Criminal to the Justice and disrespect of the law. Transnational
Organized Crime became a major problem that all countries had shared. In order to solve this
problem, it requires a full co-operation from all the countries and the same rule of law must be
enforced. The United Nation had the Convention Against Transnational Organized Crime and the
Protocols in 2000 A.D., it was signed by members of the United Nation Thailand was included.
Resulted in commitment to enact national law in Thailand.
The purpose of the research are to study the Anti-Participation in Transnational
Crime Act 2556, which is a measure against Transnational Organized Crime which considered a
serious crime because it is a criminal act that result at least 4 years imprisonment or heavier
punishment. To Study the criminal procedure of Transnational Organized Crime under the AntiParticipation Transnational Organized Crime Act 2556 and compare with a regular Criminal
Procedure to analyze the pros and cons of the Act. And to study the measure of the Anti
Transnational Organized Crime Act to prepare for the ASEAN Economic Community (AEC).
The foundation and the scope of the research is to compare regular criminal
procedure and the criminal procedure based on the Anti Participation in Transnational Organized
Crime in Thailand and how the Act helps with Transnational Organized Crime problem. 2
The results of this in this Qualitative methodology research is that Anti Participation
Transnational Organized Crime is a better fit to solve the problem because the same rule of law
was enforced in every country makes it easier for the law enforcer to investigate with special rules
that gave them more power than the normal investigation that apply in regular criminal procedure.
And also make it possible to connect the crime with the leader who gave command from outside
the kingdom. Just the recommendation for Transnational Organized Crime is enough to
considered wrong doing in the Anti-Participation of Transnational Organized Crime Act. And the
punishment is also heavier in comparison with other criminal act, should be able to prevent
people to commit such crime.
The recommendation of this research is that the government should make the AntiParticipation of Transnational Organized Crime the prime policy and promote the information of
such crime, including the punishment. Also educate the people and the government officers. In
order to prevent people from committing the crime, the government should promote the charges
of the anti-participation of the transnational organized crime and the charge of obstruction of
Justice that is included in the Act. Provide the seminar on the Anti-Participation of Transnational
Organized Crime for the government officers on all levels, especially the government officer who
works in the border area of the kingdom. Educate the law enforcer who works with the AntiParticipation of Transnational Organized Crime Act to aware of the Money Laundering Act and
to make the process more effective by dispossessed and sequestration the asset according to the
Anti-Money Laundering Act.