เรื่อง: การศึกษาการจัดการปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งโดยวิธีการปักแนวไม้ไผ่ชะลอความรุนแรงของคลื่น
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการศึกษา/Education
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นางสาว สุทธิลักษณ์ ระวิวรรณ
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2556
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื
อง การศึกษาการจัดการปัญหากดเซาะชายฝั ั งโดยวิธีการปักแนวไม้ไผชะลอ ่
ความรุนแรงของคลืน
ลักษณะวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ผ้วิจัย ู นางสาวสุทธิลักษณ์ ระวิวรรณ หลักสูตร ปรอ. ร่นที
ุ ./
การวิจัยทีมีวัตถุประสงค์เพือศึกษาถึงข้อดี – ข้อเสีย การเปลียนแปลงทางกายภาพและ
ชีวภาพ ทัศนคติและการมีส่วนร่วมของชุมชนต่อการดําเนินงานปักแนวไม้ไผ่ชะลอความรุนแรง
คลืน ซึ งดําเนินการในท้องที 6 จังหวัด (จังหวัดฉะเชิงเทรา จันทบุรี สมุทรปราการ สมุทรสาคร
สมุทรสงคราม ระนอง และกระบี) รวมทั;งเสนอแนะแนวทางการจัดการปัญหากดเซาะชายฝั ั ง โดย
วิธีการปักไม้ไผชะลอความรุนแรงของคลืน ซึงจะดําเนินการในพื ่ ;นทีอืน ๆ ให้เกิดประสิทธิผลและ
มีประสิทธิภาพยิงขึ ;น
ผลการศึกษาโดยสรุป พบวาการจัดการปักแนวไม้ไผ ่ ชะลอความรุนแรงของคลืน มีข้อดี ่
ในเรืองค่าใช้จ่ายน้อย วัสดุและแรงงานหาได้ในท้องถิน ชุมชนมีรายได้และมีส่วนร่วม เป็ นวิธีบรรเทา
ความเดือดร้อนเบื;องต้นได้เร็วเพราะไม่ต้องทํา EIA แนวไม้ไผช่ ่วยชะลอความรุนแรงของคลืนได้ และ
เป็ นทีหลบลมของชาวประมง มีการเกิดตะกอนดินทับถมหลังแนวไม้ไผ่ทําให้การรุกคืบหรือปลูกป่ า
ชายเลนสําหรับเป็ นกาแพงธรรมชาติได้ต ํ ่อไป รวมทั;งช่วยเสริมรายได้ของชุมชนชายฝังจากการจับ
สัตว์นํ;าบางชนิดทีมาชุกชุมหลังแนวไม้ไผด้วย ในส ่ ่วนของข้อเสีย คือ อายุการใช้งานของแนวไม้ไผ่
ชะลอความรุนแรงของคลืนสั;น B-D ปี ต้องมีการซ่อมแซมบํารุงรักษาเป็ นระยะ แหล่งวัตถุดิบไม้ไผตาม ่
ขนาดทีต้องการอาจหายากขึ;นหากขาดการส่งเสริมการปลูกไผอาจมีการลักลอบตัดจากป่ า เมือแนวไม้ ่
ไผทีปักผุพังทําให้เก ่ ิดขยะซึงกีดขวางทางนํ;าและเป็ นอันตรายกบชาวประมงทีใช้กระดานเลือนหาสัตว์ ั
นํ;าบริเวณชายฝัง นอกจากนั;นแนวไม้ไผทีปัก ่ ่กอให้เกิดการบดบังทัศนียภาพท้องทะเล เป็ นต้น สําหรับ
การเปลียนแปลงทางกายภาพและชีวภาพ พบว่ามีการเปลียนแปลงจากการทับถมของตะกอนดินหลัง
แนวการปักไม้ไผ่ด้านติดชายฝังเพิมขึ;น มีพรรณไม้ คือ แสมทะเล โกงกางเติบโตดีทั;งทีเกิดโดย
ธรรมชาติและทีมีการปลูกเสริม ดึงดูดให้นกนํ;ามาชุมนุมและปลามาหลบอาศัยบริเวณแนวไม้ไผ่ ซึ ง
เป็ นผลดีในแง่ความหนาแน่นของกิจกรรมทางชีวภาพและส่งเสริมความสมบูรณ์ของระบบนิเวศ การ
ลดความรุนแรงของคลืนและลมหลังแนวไม้ไผอยู ่ ในระดับดี ่
ในส่วนของทัศนคติและการมีส่วนร่วมของชุมชนเห็นวากรมทรัพยากรทางทะเลและ ่
ชายฝังได้มีการสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนในพื;นทีและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียตั;งแต่ในข
ขั;นตอนของการเตรียมการ-ระหว่าง-และหลังการดําเนินการปักแนวไม้ไผ่ชะลอคลืน เฉลียอยู่ใน
ระดับปานกลาง ระดับดี และระดับน้อย ตามลําดับ โดยมีความพึงพอใจเกี
ยวกบระบบบริหารจัดการ ั
โครงการฯ ในระดับดี ส่วนประเด็นการให้ความรู้ สร้างความเข้าใจและกระบวนการมีส่วนร่วม
รวมทั;งประเด็นประโยชน์ทีได้รับจากการปักแนวไม้ไผ่ มีความพึงพอใจเฉลียในระดับปานกลาง
ทั;งนี; โดยมีข้อเสนอแนะแนวทางเพิมประสิทธิผลและประสิทธิภาพในการดําเนินการปักแนวไม้ไผ่
ชะลอความรุนแรงของคลืน กลุ่มเป้ าหมายได้มีข้อเสนอเกี
ยวกบการเชือมโยงกลไกการบูรณาการให้ ั
ถึงระดับพื;นทีและเพิมช่องทางการสนับสนุนแหล่งงบประมาณหรือจัดกองทุนเพือสนับสนุนการ
จัดการปัญหากดเซาะชายฝั ั งอยางเพียงพอ ในระดับปฏิบัติการของหน ่ ่วยงานรัฐทีมีหน้าทีรับผิดชอบ
และทีเกียวข้อง ให้มีการขับเคลือนการนํานโยบายไปสู่การปฏิบัติ ควบคู่กับสนับสนุนการ
เสริ มสร้างศักยภาพของท้องถินและชุมชนโดยการส่งเสริ มการสร้างเครื อข่ายและกิจกรรม
ดําเนินงานของเครือข่าย ชุมชนและท้องถินด้านวิชาการและด้านอืนๆ
abstract:
ABSTRACT
Title The Study on Erosion Management through building bamboo fence to reduce the wave energy
Field Science and Technology
Name Ms.Suthiluck Raviwan Course NDC (JSPS) Class 26
The research had the objective to study the advantages and disadvantages, the
physical and biological changes, attitude and community participation in building bamboo fences,
to reduce the wave energy, which had been implemented in 7 provinces (Chachoengsao,
Chanthaburi, Samut Prakan, Samut Sakhon, Samut Songkhram, Ranong and Krabi).
Recommendation in addressing coastal erosion through building bamboo fences to reduce the wave
energy was also presented so that it could be efficiently and effectively replicated in other areas.
The study found that the advantages of building bamboo fences to reduce the
wave energy were its low cost as the materials and labor were locally available. Communities
were able to participate in alleviating the problem and also earned an income. It could be
implemented immediately without waiting for the EIA process. Furthermore, the bamboo fences
could reduce the wave energy and shelter fishermen from wind. The sediment accumulated
behind the bamboo fences could be used for mangrove tree planting, which eventually became the
natural fences. Coastal communities could also earn an extra income from catching aquatic
animals, abundant behind the bamboo fences. The disadvantages were the lifetime of bamboo
fences was short, only 3 – 4 years and maintenance periodically was needed. The sources of raw
material at the size of bamboo needed may be limited without bamboo replantation promotion. In
addition, illicit cut of bamboo in the forest could also be occurred. When the bamboo fences
rotted and broken down into water, it could obstruct the waterways and cause harm to the
fishermen, who slide their wooden boards on the mud flats to catch aquatic animals.
Furthermore, the bamboo fence also blocked the view of the sea. Regarding physical and
biological changes, it was found that there was an accumulation of sediment behind the bamboo
fences, which was suitable for Avicennia marina and Rhizophora apiculata to grow up and
reproduce. The fences also provided habitat and shelter for water birds and fish, which is beneficial to biological density and enhance the health of ecosystem. The rate of reduction of
wind and wave behind the bamboo fence is in a good level.
Regarding the attitude and community participation, the Department of Marine and
Coastal Resources had adopted local community participation process, from the preparation,
during and after building the bamboo fence, the participatory level was moderate, satisfied and
slightly satisfied, respectively. They were satisfied with the project management system,
however, regarding the understanding and participatory process, including the benefit gained, the
satisfactory rate is moderate. Recommendation to enhance the efficiency and effectiveness in
building bamboo fences to reduce the wave energy, the target groups proposed to have an
integrating mechanism at the site level. It is further recommended to increase the access to source
of budget or fund to support the coastal erosion management at the practitioner level of related
government agencies. Policy implementation should be driven together with the capacity
building support to the local and communities through activities and networking