เรื่อง: แนวทางการรองรับสงครามไซเบอร์ของกองทัพไทย
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการศึกษา/Education
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี สุชาติ ผ่องพุฒิ
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2556
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื
อง แนวทางการรองรับสงครามไซเบอร์ของกองทัพไทย
ลักษณะวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ผ้วิจัย ู พลตรี สุชาติ ผองพุฒิ ่ หลักสูตร ปรอ. ร่นที
ุ 26
การทําเอกสารวิจัยฉบับนี*มีวัตถุประสงค์เพื-อหาแนวทางที-เหมาะสมและสามารถ
ดําเนินการได้อย่างเป็ นรูปธรรมในการรองรับสงครามไซเบอร์ของกองทัพไทย โดยมีการศึกษา
ความเป็ นมา นิยามต่างๆ อีกทั*งยังมีการรวบรวมข้อมูลแนวทางการรองรับสงครามไซเบอร์ ท*งใน ั
ประเทศและต่างประเทศ ที-มีอยู่ในปัจุบัน ว่าจะสามารถรับมือกบภัยคุกคามต ั ่างๆ เหล่านั*นได้มาก
น้อย เพียงใด นอกจากนั*นยังจะมีการศึกษายุทธศาสตร์ทางด้านความมันคงปลอดภัยไซเบอร์ -
แห่งชาติ ของรัฐบาล และมีการศึกษาเปรียบเทียบกบโครงสร้าง หรือแนวทางของหน ั ่วยงานของ
กองทัพไทยในปัจจุบัน ตลอดจนการรวบรวมบทเรียนของสงครามไซเบอร์ที-ผ่านมา เพื-อเป็ น
บรรทัดฐานในงานวิจัย
หลังจากได้ทําการวิจัยด้วยการสัมภาษณ์ การรวบรวมและจําแนกภัยคุกคามทางด้าน
ไซเบอร์ต่อกองทัพไทย ได้พบว่าภัยคุกคามที-กองทัพไทยให้ความสําคัญมีด้วยการ 4 รูปแบบ
แตกต่างกนในด้านขอบเขต และวัตถุประสงค์ในการดําเนินการ และมีก ั ารกาหนด ขอบเขตของการ ํ
รองรับสงครามไซเบอร์ ในกรอบมุมมองของกองทัพ ตามระดับของภัยคุกคาม แบ่งเป็ น 3 ระดับ ได้
มีการกาหนดกรอบในการรองรับ ในการดําเนินการทางด้านสงครามไซเ ํ บอร์ของกองทัพไทย เพื-อ
รองรับสงครามไซเบอร์ในอนาคตออกเป็ น > ด้านอีกด้วย และมีการการกาหนดกรอบระยะเวลาใน ํ
การดําเนินการทางด้านสงครามไซเบอร์ แบ่งออกเป็ น ? ระยะ มีข้อเสนอแนะเพื-อการปรับภารกิจ
ในภาพรวมของหน่วยในกองทัพเพื-อการปฏิบัติการสงครามไซเบอร์ โดยแยกการดําเนินการออก
ได้เป็ น A รูปแบบ ได้แก่ งานสนับสนุนการรบหลัก และ งานในสายเทคนิคหรือผู้เชี-ยวชาญด้านการ
รักษาความปลอดภัยของกองทัพ ตลอดจากการนําเสนอโครงสร้างหน่วยงานของกองทัพที-จะ
รองรับสงครามไซเบอร์อยางเป็ นรูปธรรมต ่ ่อไป
abstract:
ABSTRACT
Title: Methods to defense cyber-attack of Royal Thai Armed Forces
Field: Science and Technology
Name: Major General Suchart Pongput Course: NDC (JSPS) Class: 26
The main purpose of this research documents is to find a suitable methods that are appropriate
and correct action to handle the cyber-attack issues of Royal Thai Armed Forces. The research includes
the studyof the history of cyber-attacks,related definitions that are associated with cyber-attack as well as
the modern cyber-attack information both in Thailand and abroad;this allows us to learn how to
handledifferent threats that are occurring in the current situations. Moreover, the research also studies
about the government’s strategy to how they handling with their cyber-attack problems and comparing
with the Royal Thai Armed Forces. Furthermore, the study also learns about the cyber-attack in the
past.This allows us to use as a criteria for the research.
After the interviewed, gathered different information and analyzed all the data of the Royal Thai
Armed Forces, we can understand that there are 4 different threats that Royal Thai Armed Forces
concerned. Moreover, there are 3 different levels of frameworks that are used to handle the cyber-attack of
the Royal Thai Armed Forces. It is also planned to have 3 different stages in the future. There are also
different suggestions to reform the overall cyber-attack methods of the Royal Thai Armed Forces which
includes the support of the main battle and the support of the cyber security of the armed forces as well as
the representing the armed forces frameworks that can handle cyber-attack in the future.