Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: นโยบายการสนับสนุนราคาพลังงานกับความมั่นคงด้านพลังงานของประเทศ

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการศึกษา/Education
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย สุกฤตย์ สุรบถโสภณ
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2556
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

บทคัดย่อ ก เรื อง นโยบายในการสนับสนุนราคาพลังงานกับความมันคงด้านพลังงานของประเทศ ลักษณะวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ผ้วิจัย นายส ู ุกฤตย์ สุรบถโสภณ หลักสูตร ปรอ. ร่นที ๒๖ ุ นโยบายอุดหนุนราคาพลังงานได้เริมดําเนินการมาตังแต่ปี  !" เพือบรรเทาปัญหา สภาวะราคานํามันผันผวนจากปัจจัยภายนอก แต่ภายหลังต่อมากลับกลายเป็ นส่วนหนึงของนโยบาย ประชานิยมจนถึงทุกวันนี ก่อให้เกิดปัญหาจากการบิดเบือนราคาต่อเนือง ทังนีไม่รวมถึงปัญหา ประสิทธิภาพของการใช้พลังงาน ปัญหามลภาวะ ปัญหาสังคมจากการเหลือมลําของฐานะและการ ให้เงินสนับสนุน ปัญหางบประมาณแผนดิน และการลงทุนพลังงานทางเลือก เป็ นต้น ซึงล้วนแต ่ ่จะ ส่งผลกระทบมากขึนในระยะยาว หากยังคงนโยบายนีไว้ และไม่แกปัญหาอย ้ างเป็ นระบบ ่ การวิจัยนีมีวัตถุประสงค์เพือศึกษาปัญหาและผลกระทบจากนโยบายในการสนับสนุน ราคาพลังงานต่อความมันคงด้านพลังงานของประเทศ และเพือเสนอแนะแนวทางในการดํ  าเนิน นโยบายในการสนับสนุนราคาพลังงานทีจะก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อประเทศชาติ โดยศึกษา ข้อมูลการใช้พลังงานชนิดต่างๆจากกระทรวงพลังงาน กระทรวงพาณิชย์ สถาบันปิ โตรเลียม และ บริษัท ปตท. จํากด (มหาชน) รวมถึงบทวิเคราะห์ผลกระทบทีเก ั ิดขึนจากหน่วยงานและองค์กร ต่างๆ และนโยบายของรัฐบาลชุดทีผ่านมาจนถึงชุดปัจจุบันในการสนับสนุนราคาพลังงาน โดย ครอบคลุมราคานํามันดีเซล ก๊าซหุงต้ม (LPG) และก๊าซธรรมชาติ (NGV/CNG) และผลกระทบที เกิดขึนในช่วงทีผานมาและจะเก ่ ิดขึนในอนาคต ทังนี ผู้วิจัยได้เสนอแนวทางในการปรับโครงสร้างราคาพลังงานทีเหมาะสมเพือรองรับ การเข้าสู่ AEC ในอนาคต พร้อมทังเร่งบริหารจัดการพลังงานเพือการใช้พลังงานอยางคุ้มค ่ ่าและมี ประสิทธิภาพ โดยอาจจะต้องนําร่องนโยบายเร่งด่วนในการสนับสนุนพลังงานทดแทนหรื อ พลังงานทางเลือกทีน่าสนใจ เพือรองรับการขาดแคลนพลังงานหลักในอนาคต ตลอดจนเตรียม มาตรการรับมือและแนวทางในการเตรียมความพร้อมต่อ AEC ของภาครัฐและภาคเอกชนใน อนาคตซึ งสามารถสรุปได้คร่าวๆ H ขันตอนคือ !) การกาหนดราคาให้สะท้อนต้นทุนจริง และ ํ เป็ นไปตามกลไกตลาดสากล ) ทยอยลดการควบคุมราคาพลังงาน I) กาหนดมาตรการให้ความ ํ ช่วยเหลือทางการเงิน และ H) กาหนดขั ํ นตอนสําคัญในการเพิมโอกาสการเปลียนแปลงอยางยั ่ งยืน 

abstract:

0