Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: บทบาทของสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินกับความมั่นคงของชาติ

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการเมือง/Politics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาง สิรินทร์ พันธ์เกษม
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2556
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

- ก - บทคัดย่อ เรืÉอง บทบาทสาํ นกังานการตรวจเงินแผน่ ดินกบัความมนคงของชาติ ัÉ ลกัษณะวชิา การเมือง ผ ู้วจิัย นางสิรินทร ์ พนัธ ์ เกษม หลกัสูตร ปรอ. รุ่นทีÉ ŚŞ การวิจยัครÊังนีÊมีวตัถุประสงคเพื ์ Éอศึกษาสถานการณ์การทุจริ ตคอร์รัปชัÉนในปัจจุบัน ทีÉส่งผลกระทบต่อความมัÉนคงของชาติ และบทบาทของสํานักงานการตรวจเงินแผน่ ดิน (สตง.) ซึÉงเป็ นองค์กรตามรัฐธรรมนูญทีÉมีหน้าทีÉหลักในตรวจสอบการใช้จ่ายเงินงบประมาณของภาครัฐ การปฏิบตัิงานของ สตง. สามารถลดการทุจริตคอร์รัปชันÉ ซึÉงจะส่งผลดีต่อความมนคงของชาติ Éั ผลการวิจัยปรากฏว่า ประเทศไทยยงัมีปัญหาความโปร่งใสในการบริ หารงานภาครัฐ ทาํให้เกิดการทุจริตคอร์รัปชัÉนในระดบั ทÉีสูงและมีแนวโน้มทีÉจะสูงขึÊน การทุจริตคอร์รัปชัÉนส่งผล กระทบต่อความมันÉ คงแห่งชาติทÊงระยะสั ั Êนและระยะยาวในดา้นการเมืองและการบริหารดา้นเศรษฐกิจ และดา้นสังคมจิตวิทยาการเสริมสร้างธรรมาภิบาลในภาครัฐจึงเป็ นสิÉงจาํ เป็นเพืÉอป้องกนัการทุจริต โดยธรรมาภิบาลภาครัฐทีÉมีความจาํ เป็นไดแ้ก่การตดั สินใจอย่างมีเหตุมีผลความโปร่งใสในการ บริหารงาน และการตรวจสอบจากภายนอก ทัÊงทีÉกระทาํจากหน่วยตรวจสอบภาครัฐ คือ สตง. และการตรวจสอบโดยองค์กรตรวจสอบเอกชนทีÉมีความรู้ความสามารถในเชิงวิชาชีพตาม มาตรฐานการตรวจสอบ สตง. ได้ดําเนินการเพืÉอป้องกันและแก้ไขปัญหาการทุจริตคอร์รัปชัÉนโดยกําหนด ยุทธศาสตร์การตรวจสอบเชิงรุกซึÉงเป็ นการตรวจสอบในลกั ษณะป้องปราม เป็นการตรวจสอบก่อน ทีÉหน่วยรับตรวจจะดําเนินโครงการหรือจดั ซÊือจดัจ้างเพÉือให้มัÉนใจว่าการดําเนินการถูกต้องตาม ระเบียบ กฎหมาย ไม่มีการฮÊว และมี ั ความคุ้มค่า ราชการและประชาชนได้รับประโยชน์สูงสุด การตรวจสอบเชิงรุกทีÉสําคญั ของ สตง. ประกอบดว้ยการสร้างพนัธมิตรในการตรวจสอบ การแจง้ ยบั ยÊงัหรือชะลอการจ่ายเงินทีÉไม่เป็นไปตามกฎหมายหรือไม่เหมาะสม การเผยแพร่ผลการ ตรวจสอบ และการส่งเสริมให้หน่วยรับตรวจมีระบบการควบคุมภายในทÉีเขม้แขง็ ข้อเสนอแนะจากการวิจัยเพืÉอให้บทบาทของ สตง. ในด้านการป้องกันการทุจริต คอร์รัปชัÉนมีความเข้มแข็งมากขึÊน ประกอบด้วยการสร้างเครือข่ายการตรวจสอบ การเชืÉอมโยง ข้อมูลของหน่วยรับตรวจ การปรับปรุงกฎหมายในเรÉืองบทลงโทษ การส่งเสริมจริยธรรมใน หน่วยงานภาครัฐ การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน และการปลูกฝังจิตสํานึกสาธารณะ ในการต่อตา้นการทุจริตอร์รัปชันÉ

abstract:

ABSTRACT Title The Roles of the Office of the Auditor General on National Security Field Politics Name Mrs. Sirin Phankasem Course: NDC (J SPS) Class: 26 The objectives of this research are to study the current corruption situation that effect to the national security. The roles of the Office of the Auditor General (OAG) which is the constitutional organization that has main responsibility in public expenditure audit. The works of OAG can reduce corruption which will have a good result in national security. The research result shows that Thailand still has transparent problem in public administration which results in high level of corruption and trend to be higher. Corruption effects to national security both short term and long term, on political and administrative aspect, economy aspect, and social-psychology aspect. The enhancing of good governance in public sector is necessary for preventing corruption. Good governance in public sector includes the reasonable decision making, transparency in administration and the external auditing both from the government auditor, OAG, and from the private audit firm which hold professional knowledge in auditing standards. OAG has been performed its work in order to prevent and solve corruption problem through the proactive auditing strategy. It is so call a preventive audit before the audited agency start the project or start the procurement process to ensure that the audited agency comply with related rules and laws and no price compromising. The operation is worthwhile, the government and the citizen obtain the highest benefit. The major proactive audits consist of the building up auditing alliance, sending the report to the oversight body in order to stop or delay illegal or inappropriate expenditure, distribution of the audit results, and supporting the audited agencies for strengthening their internal control systems. The research recommendations for strengthening the roles of OAG in preventing corruption consist of the building of audit network, the connecting of audited agency information, the improvement of punishment laws, the enhancing of ethics in public administration, the enhancing of citizen participation, and the creating of public awareness against corruption.