เรื่อง: ปัญหาเกี่ยวกับการวินิจฉัยชี้ขาดอำนาจหน้าที่ระหว่างศาลในประเทศไทย
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการเมือง/Politics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย สราวุธ เบญจกุล
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2556
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรืÉอง ปัญหาเกีÉยวกบัการวนิิจฉยัชÊีขาดอาํนาจหนา
้
ทÉีระหวา่ งศาลในประเทศไทย
ลกัษณะวชิา การเมือง
ผ
ู้วจิัย นาย สราวธุ เบญจกุล หลกัสูตร ปรอ. รุ่นท ๒๖ ีÉ
ในอดีตประเทศไทยใช้ระบบศาลเดีÉยวในการพิจารณาพิพากษาอรรถคดีทัÊงปวง โดย
ให้ศาลยุติธรรมมีอํานาจวินิจฉัยชีÊขาดข้อพิพาททุกประเภท ไม่ว่าจะเป็นคดีแพ่ง คดีอาญา คดี
ปกครอง หรือคดีประเภทอืÉน ๆ จนกระทังÉ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกัรไทย พุทธศกัราช ๒๕๔๐
มีผลบงัคบั ใช้จึงเกิดระบบศาลในประเทศไทย ๔ ระบบ ได้แก่ศาลรัฐธรรมนูญ ศาลยุติธรรม ศาล
ปกครอง และศาลทหาร ในทางวิชาการเรียกระบบศาลทีÉมีมากกว่าหนÉึงศาลว่าระบบศาลคู่ ซÉึงเป็ น
ระบบทีÉให้ศาลยุติธรรมมีอาํ นาจพิจารณาพิพากษาขอ้ พิพาทเฉพาะคดีแพ่งและคดีอาญา ส่วนคดี
ปกครองแยกไปให้ศาลปกครองเป็ นศาลทีÉมีอาํนาจในการพิจารณาพิพากษา ทาํให้คดีแต่ละประเภท
ได้รับการชาํระสะสางโดยผูพ้ ิพากษาหรือตุลาการทีÉมีความรู้ความเชีÉยวชาญเฉพาะด้านและมีวิธี
พิจารณาทีÉเหมาะสมกบัลกัษณะของคดีอยา่ งไรก็ตาม การแยกระบบศาลออกจากกนั เป็นเอกเทศใน
ระบบศาลคู่ยอ่ มก่อให้เกิดความขดัแยง้เกÉียวกบัอาํนาจหน้าทีÉระหวา่ งศาลหรือเขตอาํ นาจศาลเหนือ
คดีทีÉพิพาท จึงมีการจดัวางระบบการวินิจฉยัชÊีขาดอาํนาจหนา้ทÉีระหวา่ งศาลโดยคณะกรรมการร่วม
ระหว่างศาลยุติธรรม ศาลปกครองและศาลทหาร ตามหลักการทีÉบญั ญัติไวใ้นรัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ และรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช
๒๕๕๐ แต่ในทางปฏิบัติพบว่ากระบวนการชีÊขาดอํานาจหน้าทีÉระหว่างศาลมีส่วนทําให้การ
ดาํ เนินคดีล่าช้าเนÉืองจากศาลตอ้งรอคาํวินิจฉัยชÊีขาดของคณะกรรมการก่อน การแกป้ ัญหาดงักล่าว
อาจทาํได้โดยบัญญัติกฎหมายให้คาํวินิจฉัยของคณะกรรมการสามารถใช้ได้ในคดีทÉีมีประเด็น
เดียวกบั ทีÉเคยวินิจฉัยไปแลว้ ควบคู่ไปกบัการพฒนาระบบงานเลขานุการคณะกรรมการเพื ั Éอให้คาํ
วนิิจฉัยของคณะกรรมการวินิจฉยัชÊีขาดอาํนาจหนา้ทÉีระหวา่ งศาลมีความเป็ นเอกภาพและมีคุณภาพ
เหมาะสมทีÉจะใชเ้ป็นบรรทดัฐานในคดีอืÉน
abstract:
Abstract
Topic : The problem concerning the separation of judicial power among the Courts in Thailand
Subject : Politics
Name MR.Sarawut Bengakul Course NDC (JSPS) Class (26)
In the past, the hearing all cases in Thailand has been under the single court system
in which the Court of Justice has the jurisdiction over all types of cases such as civil cases,
administrative cases and others. Until, the day when the Constitution of the Kingdom of Thailand
1997 came into effect, a four court system has then emerged in Thai legal system namely: the
Constitutional Court, the Court of Justice, the Administrative Court and the Martial Court.
Academically, any legal system which possesses more than a single court is called a dual court
system.
It is the system where the Court of Justice has jurisdiction over civil and criminal
cases while administrative cases are dealt with under the Administrative Court so that each type
of cases are especially adjudicated with skilled judges who hold expertise and knowledge in
specialized area of laws that fit the nature of each case.
However, the dual court system where each court has its own independence has
caused judicial conflict regarding the jurisdiction between the Courts upon cases in dispute.
Therefore, the joint-committee for adjudication of judicial power between the Courts which
comprises of the representatives from the Court of Justice, the Administrative Court and the
Martial Court was established under the Constitution of the Kingdom of Thailand 1997 and 2007.
Nevertheless, in practice, the decision of the joint-committee over the issue of the
adjudication of judicial power between the Courts has indeed caused a delay in the process
because the courts must wait for the committee’s decision before adjudicating its own case. The
problem could be solved by enacting the law whereby the committee’s decision could be applied
in all cases with similar issues, and improving the administration of the joint-committee so that
decisions made by the adjudication of judicial power between the Courts committee could reach a
new standard of unity and quality which shall be applied upon other cases.