Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการเตรียมกำลังพลของกองทัพอากาศไทยในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการทหาร/Military
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, น.อ.เกรียงศักดิ์ หนองปิงคำ , น.อ.ไพศาล น้ำทับทิม, พล.อ.ต.สมศักดิ์ หาญวงษ์, น.อ.สิทธิพร เกสจินดา,
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2555
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดยอ เรื่องแนวทางการเตรียมกําลังพลของกองทัพอากาศไทยในการเขาสูประชาคมอาเซียน ลักษณะวิชาการทหาร ผูวิจัย น.อ.เกรียงศักดิ์ หนองปงคํา หลักสูตร วปอ. รุนที่๕๕ ผูวิจัย น.อ.ไพศาล น้ําทับทิม หลักสูตร วปอ. รุนที่๕๕ ผูวิจัย พล.อ.ต.สมศักดิ์ หาญวงษ หลักสูตร วปอ. รุนที่๕๕ ผูวิจัย น.อ.สิทธิพร เกสจินดา หลักสูตร วปอ. รุนที่๕๕ การเตรียมกําลังพลของกองทัพอากาศในการเขาสูประชาคมอาเซียน มีวัตถุประสงค เพื่อ ศึกษาแผนการบริหารราชการแผนดิน แผนยุทธศาสตรที่เกี่ยวของกับดานกําลังพล หลักสูตร การศึกษาของโรงเรียนนายเรืออากาศและ โรงเรียนจาอากาศ นโยบายและแนวคิดของผูทรงคุณวุฒิ และเอกสารวิจัยที่เกี่ยวของเพื่อกําหนดแนวทางการเตรียมกําลังพลของกองทัพอากาศในการเขาสู ประชาคมอาเซียน การวิจัยครั้งนี้เปนการผสมผสานระหวางการวิจัยเชิงปริมาณและวิจัยเชิงคุณภาพ โดยมีขั้นตอนการดําเนินการไดแก ศึกษาเอกสารตางๆ ที่เกี่ยวของ ศึกษานโยบายและแนวคิด ผูทรงคุณวุฒิ สํารวจความคิดเห็นของขาราชการกองทัพอากาศตอการเตรียมความพรอมเขาสู ประชาคมอาเซียน ใน ๘ ดาน ตามนโยบายของผูบัญชาการทหารอากาศ สนทนากลุมผูบังคับบัญชา ระดับสูงของหนวยงานที่เกี่ยวของกับการเตรียมกําลังพลของกองทัพอากาศ และสังเคราะหเพื่อหา แนวทางการเตรียมกําลังพลของกองทัพอากาศในการเขาสูประชาคมอาเซียน ผลจากการวิเคราะห ความคิดเห็นของขาราชการกองทัพอากาศตอการเตรียมความพรอมเขาสูประชาคมอาเซียนดาน ตางๆ และผลจากการสนทนากลุมสามารถสรุปแนวทางการเตรียมกําลังพลของกองทัพอากาศใน การเขาสูประชาคมอาเซียนในประเด็นตางๆได๘ ดาน สอดรับกับนโยบายของผูบัญชาการทหาร อากาศ พ.ศ.๒๕๕๖โดยจัดทําเปนขอเสนอแนะเชิงนโยบาย ดังนี้ ๑. กองทัพอากาศควรกําหนด เกณฑการทดสอบภาษาอังกฤษในการพิจารณาการเลื่อนยศ การพิจารณาเขาศึกษาในหลักสูตรตางๆ ของกองทัพอากาศการไปศึกษาดูงาน การปฏิบัติงานตางประเทศใหเหมาะสมยิ่งขึ้น ๒. วิธีการสรร หากําลังพลประเภทบุคคลพลเรือนเขาเปนนักเรียนทหารในสถาบันการศึกษาซึ่งเปนโรงเรียนหลัก ขั้นตนของกองทัพอากาศหรือประเภทบุคคลพลเรือนที่จะสอบคัดเลือกเขาเปนขาราชการ กองทัพอากาศจําพวกกําลังพลพิเศษ ควรกําหนดเกณฑการรับสมัครโดยพิจารณาจากผลการศึกษา เพื่อสรรหาบุคลากรที่จะมีคุณสมบัติตามที่กองทัพอากาศตองการ และ ๓.กองทัพอากาศควรข กําหนดใหมีหนวยรับผิดชอบงานในสวนที่เกี่ยวของกับการเขาสูการเปนประชาคมอาเซียน เพื่อ ประชาสัมพันธสรางความตระหนักและความรูความเขาใจใหกับกําลังพลกองทัพอากาศทุกหนวย สวนขอเสนอแนะเพื่อการพัฒนามีดังนี้ ๑.การพัฒนาความสามารถในการใชภาษาอังกฤษของกําลัง พลกองทัพอากาศควรปรับเปลี่ยนวิธีการเรียนการสอนวิชาภาษาอังกฤษในหลักสูตร โรงเรียนหลัก ขั้นตนของกองทัพอากาศ และหลักสูตรภาษาอังกฤษที่ ศูนยภาษากรมยุทธศึกษาทหารอากาศ รับผิดชอบโดยใหเนนการเสริมทักษะการพูด ทักษะการฟง ใหมากยิ่งขึ้น ระบบการเรียนรูดวย ตนเองผานสื่ออิเล็กทรอนิกส (E – Learning)ควรดําเนินการอยางตอเนื่อง ๒. กรมยุทธการทหาร อากาศควรจัดใหมีการอบรมและทบทวนความรูความเขาใจเกี่ยวกับการฝกรวม/ผสม ใหกับกําลัง พลกองทัพอากาศทุกคนกอนเขารับการฝก และพิจารณาคัดเลือกกําลังพลที่มีความสามารถในการ ใชภาษาอังกฤษไดดี เขารวมการฝกฯ ๓. กรมกําลังพลทหารอากาศ ควรใหความรูความเขาใจ เกี่ยวกับการจัดทําสมรรถนะหลักของกําลังพลกองทัพอากาศ (Core Competency)แกกําลังพล โดย การเปดการอบรมสัมมนาทางวิชาการกอนที่กรมกําลังพลทหารอากาศและหนวยที่เกี่ยวของจะ ดําเนินการประเมินกําลังพล ๔. กรมยุทธศึกษาทหารอากาศควรพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร นายทหารชั้นผูบังคับฝูง หลักสูตรเสนาธิการทหารอากาศ และหลักสูตรวิทยาลัยการทัพอากาศ ให ทันสมัย มีมาตรฐานทางการศึกษาเพื่อความเปนสากลทางวิชาการ สามารถรองรับ นายทหาร นักเรียนและนักศึกษาจากกลุมประเทศอาเซียนเขารับการศึกษา ๕.กองทัพอากาศควรเสริมสราง ความรวมมือทางวิชาการกับ กองทัพอากาศกลุมประเทศอาเซียน โดยจัดทําบันทึกความเขาใจ (MOU)กําหนดใหมีแลกเปลี่ยนอาจารย และนายทหารนักเรียนหลักสูตรการศึกษาตามแนวทางการ รับราชการของกองทัพอากาศ และ ๖. สรางระบบการมีสวนรวมของกําลังพล เพื่อใหเกิดการ แลกเปลี่ยนความรูซึ่งกันและกัน เรียนรูการทํางานเปนทีม เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคตามภารกิจที่ ไดรับมอบหมาย ข

abstract:

ABSTRACT Title Guidelines for preparation of the Royal Thai Air Force personnel to enter the ASEAN Community Field Military Name Gp.Capt.Kriangsak Nongpingkham Course NDC Class 55 Name Gp.Capt.Paisan Namtubtim Course NDC Class 55 Name AVM.Somsak Harnwong Course NDC Class 55 Name Gp.Capt.Sittiporn Keschinda Course NDC Class 55 The objective of preparation the Royal Thai Air Force personnel to enter the ASEAN Community are as follows : plans to study the government plan, study the military strategic plans related to the soldier, study the curriculum of the Royal Thai Air Force Academy and Air Technical Training School, policies and ideas of experts, and documents and research related to a set of guidelines for preparing troops of the Air Force to enter the ASEAN Community. This research combines quantitative research and qualitative research. Procedures performed include; study involved documents, study policies and luminaries of experts, survey the opinions of the Air Officers on their preparation for ASEAN Community following the 8th policies of the Commander-in-Chief of RTAF, discuss with a group of high-command agencies involved in the preparation of Air Force personnel, and synthetic approaches to prepare troops for the Air Force to enter the ASEAN Community. The results of analysis of the Air Officers's opinions to prepare for ASEAN Community in different areas, and the group discussion are a summary of guidelines for preparation of Air Force personnel to enter the ASEAN community, conforming to the 8th policies of the Commander-in-Chief of RTAF in B.E 2556, which conclude to the policy suggestions as follows: 1. RTAF should establish an appropriate criteria for the English test in determining promotions, admission in various courses of the Air Force, and study, visit, and work in Foreign countries, 2. Methods of civilian recruitment to be the military students in Air Force's primary school education, or to be the Air Force special forces group, admission criteria should2 be based on the studied results in order to meet the Air Force's requirements, and 3. RTAF should assign the ASEAN unit to be responsible for public relation, awareness and understanding the ASEAN community to the Air Force personnels. The suggestions for improvement are as follows: 1. Development English skill of Air Force personnel should modify the teaching methods in the curriculum of the Air Force primary schools, and English courses at RTAF Language Center, by focusing on enhancing the skills of listening and speaking, and System of self-learning through an electronic medium (E - Learning) should be implemented continuously, 2. The Directorate of Operations, RTAF should provide training and refresher training on the joint / combined exercise to all Air Force personnel before training, and select personnel with the ability to use good English to participate, 3. The Directorate of Personnel, RTAF should provide a better understanding about the preparation of the RTAF Core Competency to personnel by setting the training seminar before an evaluation, 4. The Directorate of Education and Training, RTAF should develop and improve the curriculum of Squadron Officer School, Air Command and Staff College, and Air War College in the level of the international educational standards for supporting the officers from ASEAN countries to study, 5. RTAF should strengthen technical cooperation with ASEAN Air forces by a Memorandum of Understanding (MOU) with the exchange of Directing Staffs and Student Officers to attend the courses at Squadron Officer School, Air Command and Staff College and Air War College, and 6. Establish the involvement of RTAF personnels to exchange knowledge with each other, and also learn to work as a team, in order to achieve the mission assigned.