Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: ผลกระทบต่อธุรกิจบริการเดินอากาศของประเทศไทยภายใต้กรอบข้อตกลงประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเศรษฐกิจ/Economics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย สมนึก รงค์ทอง
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2556
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื อง ผลกระทบต่อธุรกิจบริการเดินอากาศของประเทศไทย ภายใต้กรอบ ข้อตกลงประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ ผ้วิจัย นายสมนึก รงค์ทอง หลักส ู ูตร ปรอ. ร่น ๒๖ ุ ตามทีประเทศในกลุ่มอาเซียน จะทําการรวมตัวกนจัดตั ั งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ โดยมีเป้ าหมายให้เกิดความร่วมมือในด้านการค้าสินค้า การค้าบริการ และการ ลงทุน ธุรกิจบริการเดินอากาศอาจมีโอกาสได้รับผลกระทบหลังจากการจัดตังประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน ผู้วิจัยจึงได้ทําการศึกษาวิจัยถึงความเป็ นไปได้ดังกล่าว โดยมีวัตถุประสงค์สองข้อ คือ ๑) เพือศึกษาผลกระทบต่อธุรกิจบริการเดินอากาศของประเทศไทยภายใต้กรอบข้อตกลงประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน ๒) เพือศึกษาแนวทางดําเนินการทีเหมาะสมของประเทศไทยต่อกรณีผลกระทบ ทีจะเกิดจากกรอบข้อตกลงประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เป็ นการวิจัยเชิงคุณภาพซึ งมีขันตอน ดําเนินการวิจัยสองขันตอนคือ ๑) การสืบค้นข้อมูลจากเอกสาร ตํารา วารสาร สิงพิมพ์ อินเตอร์เน็ต และสัมภาษณ์ผู้เชียวชาญทีเกียวข้อง อันได้แก่ผู้บริหารหน่วยงานผู้ให้บริการเดินอากาศของประเทศ สมาชิกประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ๒) การวิเคราะห์ข้อมูล โดยการวิเคราะห์เนือหา (Content Analysis) ด้วยการนําข้อมูลทีได้มาทังจากการสัมภาษณ์และจากเอกสารมาตรวจสอบ จัดกลุ่ม ตีความ วิเคราะห์ถึงสภาพแวดล้อมในปัจจุบันและแนวโน้มหลังการจัดตังประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียน จากนันได้ทําการอภิปรายข้อมูลร่วมกบทฤษฎีทีเก ั ียวข้องเพือให้ได้สรุปผลกระทบและ เสนอแนะแนวทางทีประเทศไทยควรดําเนินการ ผลการศึกษาวิจัยพบว่าการจัดตังประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยนมีผลกระทบต่อ ส่วนประกอบหลักทังสามด้านในธุรกิจบริการเดินอากาศ ได้แก่ ๑) ด้านการบริหารจราจรทาง อากาศ เกิดผลกระทบในด้านทีเป็ นโอกาสดีทีจะเกิดการร่วมมือกนยกระดับมาตรฐานและพัฒนา ั ศักยภาพการให้บริ การเพือรองรับปริ มาณจราจรทางอากาศทีเพิมขึนอย่างต่อเนือง ๒) ด้าน เทคโนโลยีระบบบริหารจราจรทางอากาศ เกิดผลกระทบในด้านทีเป็ นโอกาสดีทีจะเกิดการร่วมกนั พัฒนาเทคโนโลยีระบบบริหารจราจรทางอากาศให้เป็ นไปตามมาตรฐานใหม่ ๆ ขององค์การการ บินพลเรือนระหว่างประเทศอย่างพร้อมเพรียงกน ตลอดจนการใช้ทรัพยากรร ั ่วมกน ๓) ด้าน ั บุคลากรในธุรกิจบริการเดินอากาศ เกิดผลกระทบทังทีเป็ นภัยคุกคามคือบุคลากรคุณภาพอาจข เคลือนย้ายอย่างเสรีไปยังประเทศทีค่าตอบแทนดีกว่า และทีเป็ นโอกาสคือประเทศในประชาคม เศรษฐกิจอาเซียนอาจร่วมมือกนพัฒนาบุคลากรให้มีคุณภาพทัดเทียมก ั น ส ั ่วนข้อเสนอแนะสําหรับ ประเทศไทยได้แก่ ๑) ด้านการบริหารจราจรทางอากาศ ควรเร่งปรับปรุงศักยภาพ ริเริมเสนอบริการ ใหม่ ๆ ทีเป็ นประโยชน์ต่อประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ปรับปรุงกฎหมาย และให้ความช่วยเหลือ ประเทศทีศักยภาพด้อยกว่า ๒) ด้านเทคโนโลยีระบบบริหารจราจรทางอากาศ ริเริมจัดตังระบบ ใหม่ ๆ ตามแผนงานขององค์การการบินพลเรือนระหว่างประเทศ และร่วมมือกบประเทศสมาชิก ั ในการใช้ทรัพยากรระบบร่วมกน ๓) ด้านบุคลากรในธุรก ั ิจบริการเดินอากาศ ร่วมมือกบประเทศ ั สมาชิกในการพัฒนาเพือยกระดับคุณภาพบุคลากรให้ทัดเทียมกน ทบทวนค ั ่าตอบแทนบุคลากรให้ เหมาะสม ตลอดจนปรับปรุงกฎหมายให้เหมาะสมต่อการเคลือนย้ายแรงงานทีขาดแคลนได้อย่าง เสรี

abstract:

1 ABSTRACT Title Impacts on Air Navigation Service Business in Thailand under the Agreements of ASEAN Economic Community Field Economics Name Mr. Somnuk Rongthong Course JSPS Class 26 In 2015, countries within ASEAN will establish ASEAN Economic Community (AEC) with the aim to increase cooperation in trades of goods, trades of service and investments. Following the decision, there will be many affected services. However the service of our interest is the air navigation services. Our research focused on two main objectives 1) to study the consequences of AEC establishment on Thailand’s air navigation service; and 2) to study the best approach to adjust Thailand’s air navigation service following those consequences. Our research used qualitative research approach with two steps. The first step was literature review, which involved information from books, publications, journals, the internet and expert interviews; especially management-level personnel in many air navigation service providers in AEC member countries. The final step was content analysis, which involved inspecting, categorizing, interpreting, and analyzing all information in both current environment and projected environment after AEC establishment. Lastly, our research considered the analysis result and relevant theory in order to summarize consequences and recommended the best possible approach for Thailand. The result of this research showed that AEC establishment will affect all three main components of air navigation services. 1) For the air traffic management service, the AEC establishment will create a good opportunity for AEC member countries to jointly raise standards of service and develop service capability in order to cope with future projected increase in air traffic. 2) For the air traffic management technology, the AEC establishment will allow AEC member countries to share in both development of air traffic management technology and allocate resource for technology in order to, in unison, comply with upcoming standards of the International Civil Aviation Organization (ICAO). 3) For the air traffic management personnel 2 management, the AEC establishment will have both positive and negative impacts. The negative impact is the free movement of personnel within AEC member countries, which allow trained personnel or specialists to move to different organization with higher compensation creating “brain drain” situation. In contrary, the AEC establishment will enable AEC member countries to mutually develop desired specialists with the compatible competency. In conclusion, the recommendations for Thailand are as follow: 1) For the air traffic management service, Thailand should accelerate improvement of service capability by initiating new services that will benefit AEC, updating associated laws, and assisting other AEC member countries with lower service capability. 2) For the air traffic management technology, Thailand should implement new systems following ICAO’s Roadmap and coordinate with other AEC member countries in order to share technological resources. 3) For the air traffic management personnel management, Thailand should join with other AEC member countries in order to improve the competency of personnel to a compatible level, adjust personnel compensation accordingly, and update associated laws to better suit the free movement of trained personnel.