เรื่อง: ยุทธศาสตร์ความมั่นคงทางทะเลของไทยต่อสาธารณรัฐประชาชนจีนในทศวรรษหน้า(พ.ศ.2558 -2567)
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการทูต/Diplomacy
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาวาเอก วิศาล ปัณฑวังกูร
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2556
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรืÉอง ยุทธศาสตร์ความมันÉ คงทางทะเลของไทยต่อสาธารณรัฐประชาชนจีนในทศวรรษ
หนา
้ (พ.ศ.๒๕๕๘ – ๒๕๖๗)
ลกัษณะวชิายทุ ธศาสตร
์
ผวู้ิจยั นาวาเอกวศิาล ปัณฑวงักูร หลกัสูตร ปรอ. รุ่นทÉี๒๖
การวิจยัมีวตัถุประสงคเ์พÉือศึกษายุทธศาสตร์ความมันคงทางทะเลของจีน É ในทศวรรษ
หน้าว่าเป็นเช่นไร จะมีผลกระทบต่อความมนคงทางทะเลในภูมิภาค ัÉ เอเชียแปซิฟิ ก มหาสมุทร
อินเดีย และต่อประเทศไทยอยา่ งไร เพืÉอพิจารณากาํหนดยุทธศาสตร์หรือนโยบายความมันคงทาง É
ทะเลของไทยต่อจีนในทศวรรษหนา้ (พ.ศ.๒๕๕๘-๒๕๖๗) วิธีดาํ เนินการวิจยัใชวิ้ธีเชิงคุณภาพ
จากขอ้ มูลทุติยภูมิจากเอกสารของหน่วยราชการและแหล่งขอ้ มูลทางอินเตอร์เน็ตทÉีน่าเชÉือถือ
รวมทัÊงการสัมภาษณ์ผูท้ รงคุณวุฒิแล้วตรวจสอบความถูกตอ้งของยุทธศาสตร์ดังกล่าวด้วย
ทฤษฎีสมุททานุภาพของมาฮานและทฤษฎีการกาํ หนดยุทธศาสตร์และกาํลงัรบของบาร์เน็ตท ์
ส่วนการศึกษาผลกระทบและการกาํหนดยุทธศาสตร์หรือนโยบายความมันคงทางทะเลของไทย É
ใชก้รอบแนวทางความร่วมมือระหวา่ งประเทศมาเป็ นแนวทางในการศึกษา
การวิจยัพบวา่ ยุทธศาสตร์ความมันคงทางทะเลของจีนในทศวรรษหน้า É ได้แก่ การ
ปกป้องผลประโยชน์ของชาติทางทะเลของจีนในดินแดนทีÉอา้งสิทธÍิ/เขา้ไปแสวงประโยชน์ใช้
นโยบายการป้องกนั ประเทศเชิงรับและยุทธศาสตร์ทางทหารเชิงรุกการดาํรงการคมนาคมทาง
ทะเล แก้ไขปัญหาขดัแยง้ดว้ยการเจรจาโดยสันติวิธีและเสริมสร้างให้จีนเป็นมหาอาํ นาจทาง
ทะเลภายในปี พ.ศ.๒๕๙๓ โดยใช้ยุทธศาสตร์การป้องกันประเทศทางทะเลระยะไกล และ
ยุทธศาสตร์ทางการเมืองและเศรษฐกิจ “ยุทธศาสตร์สร้อยไข่มุก” ซึÉงอาจก่อให้เกิดความขดัแยง้
ในพืÊนทีÉทีÉจีนเขา้ไปแสวงประโยชน์ โดยเฉพาะการเกิดขอ้ พิพาทในทะเลจีนใตก้ บั ประเทศทีÉอา้ง
สิทธิÍครอบครอง แต่จากการทีÉมีการพึÉงพากนั ทางดา้นเศรษฐกิจอยา่ งซับซ้อน จึงเป็นแรงบงัคบั
ให้ทุกฝ่ายตอ้งใชย้บัยÊงชั ั งใจและใช้ É การแกป้ ัญหาโดยสันติ
ข้อเสนอแนะ ยุทธศาสตร์หรือนโยบายความมันคงทางทะเ É ลของไทยต่อจีนใน
ทศวรรษหนา้ ๑.วางตวัอยา่ งสมดุลไม่เลือกขา้งกรณีปัญหาขอ้พิพาทในทะเลจีนใต้และหนุนให้
อินโดนีเซียเป็ นผู้เจรจาไกล่เกลÉีย ๒. พฒั นาโครงข่ายคมนาคมทางรางภายในประเทศและให้
สามารถเชืÉอมต่อกบัโครงข่ายของประเทศเพÉือนบา้นได ๓. ้ สร้างท่าเรือพาณิชยข์ นาดใหญ่ทางฝÉัง
ทะเลอันดามัน ๔. ศึกษาความเป็ นไปได้ของการขุดคลองกระโดยขอรับการสนับสนุ น
งบประมาณจากกองทุน China – ASEAN Maritime Cooperation Fund
abstract:
ABSTRACT
Title Thailand’s Maritime Security Strategy toward the People’s Republic
of China in the next decade (B.E.2558 – 2567).
Field Strategy
Name Captain Wisan Puntavangoon, RTN Course NDC(JSPS) Class 26
The objectives of Research are; to study the China’s Maritime Security Strategy in
the next decade and its effects on the maritime security of the region (Asia – Pacific, Indian
Ocean and Thailand), in order to analyze and propose the proper Thailand’s Maritime Security
Strategy toward China. The research methodology is qualitative research of secondary data and
information from the official documents, credible internet sources and the interview of expert.
Alfred Thayer Mahan’s “Sea Power” and Henry C. Bartlett “Strategy Model” are used to analyze
the feasibility of the China’s Strategy, while International Politics Theory is used to analyze the
effects and appropriate Thailand’s Maritime Security Strategy toward China.
Results: China’s Maritime Security Strategy are; Protect national maritime interests
on Chinese claimed /exploited territories, Use Defensive National Defence Policy with Offensive
Military Strategy, Maintain the SLOC’s, Solve conflict by peaceful negotiation and Reinforce
China to be a Maritime Superpower by the year 2050. To implement these strategies China uses
the “Far Sea Defense Strategy” and the “String of Pearls” for the Military Strategy and for the
Political & Economy Strategy respectively. These could cause some conflict of interests in some
areas where the territorial claimed areas are still existed, such as the South China Sea Area.
However, with the complex interdependence on economy, this will have a huge influence on both
sides; China and the other parties to restrain and try to solve the dispute peacefully.
Suggestions: For Thailand’s Maritime Security Strategy toward China; Stay neutral
for the South China Sea dispute and encourage Indonesia to be the negotiator, Develop railway
transportations that connect to Thailand’s neighboring countries, Construct commercial sea ports
along the Andaman Sea area and study the feasibilities of “Kra canal” construction by requesting
the support and funds from the China – ASEAN Maritime Cooperation Fund.