Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การศึกษาแนวทางการพัฒนานโยบายและการยกเลิก พืชกระท่อมออกจากยาเสพติดให้โทษประเภท 5 ตามกฎหมายว่าด้วยยาเสพติดให้โทษ

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติสังคม/สังคมจิตวิทยา/Social-Psychology
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย วิตถวัลย์ สุนทรขจิต
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2556
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื่อง การศึกษาแนวทางการพัฒนานโยบายและการยกเลิกพืชกระท่ อมออกจาก ยาเสพติดให้โทษประเภท 5 ตามกฎหมายว่าด้วยยาเสพติดให้โทษ ลักษณะวิชา สังคมจิตวิทยา ผู้วจิยั นายวติถวลัย ์ สุนทรขจติ หลักสูตร ปรอ. รุ่นที่ 26 การวิจัยคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนานโยบายการยกเลิก พืชกระท่อมออกจากยาเสพติดให้โทษประเภท 5 ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 พร้อมท้ัง ศึกษาและเปรี ยบเทียบความคิดเห็นต่อนโยบายการยกเลิกพืชกระท่อมออกจาก ยาเสพติดให้โทษ โดยวิธีวิจัยเชิงปริมาณ เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง ได้แก่ ประชาชนทวั่ ไป เจ้าหน้าที่ส านักงาน ป.ป.ส. ตา รวจและสาธารณสุขในพ้ืนที่ปฏิบตัิงานของ สา นักงาน ปปส.ภาค 1 – 9 และ ส านักงาน ปปส.กทม. จ านวน 400 คน เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม ผลการวิจัยพบว่า มีทางเลือกเชิงนโยบาย 4 แนวทางในการพัฒนานโยบายด้านพืช กระท่อม ซึ่งมีจ านวนผู้ตอบแบบสอบถามเห็นด้วยตามล าดับ คือ ไม่ควรปรับแก้ไขกฎหมายเกี่ยวกับ พืชกระท่อม โดยให้พืชกระท่อมเป็ นยาเสพติด ประเภท 5 คงเดิม ไม่ควรปรับแก้ไข พ.ร.บ. ยาเสพติด ให้โทษ พ.ศ.2522แต่ควรปรับปรุงระเบียบให้เอ้ือต่อการใช้ประโยชน์ทางการแพทย์ควรปรับแก้ไข พ.ร.บ. ยาเสพติดให้โทษ พ.ศ.2522 บางประเด็น และยกเลิกพืชกระท่อมออกจากกฎหมายยาเสพติด กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เห็นว่า การเค้ียวใบกระท่อมไม่ใช่ความผิด เป็นวิถีชุมชน ไม่สร้างปัญหาอาชญากรรม และปัญหาสังคม ไม่รู้สึกกลัว กังวล เรื่องความปลอดภัยในชีวิตและ ทรัพย์สินหากญาติ เพื่อน สมาชิกในสถานศึกษา/สถานที่ท างาน/ชุมชน เป็ นผู้เสพใบกระท่อม แต่ไม่ เห็นด้วยเรื่องการเปิ ดเสรีการเสพ และการแปรรูปพืชกระท่อม โดยส่วนใหญ่ไม่แน่ใจในแนวทาง ควบคุมและใช้ประโยชน์จากพืชกระท่อม จากการศึกษาพบว่าผทู้ี่อาศยัในพ้ืนที่ต่างกนั มีความคิดเห็นเกี่ยวกบั พืชกระท่อมแตกต่าง กัน โดยผู้ที่อาศยัในพ้ืนที่ภาคใต้มีความคิดเห็นเชิงบวกต่อการใช้พืชกระท่อมมากกว่าผู้ที่อาศยัในพ้ืนที่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและผู้ที่มีระดับความรู้เกี่ยวกับพืชกระท่อมต่างกันมีความคิดเห็นเกี่ยวกับการ ควบคุมและใช้ประโยชน์จากพืชกระท่อมต่างกนั ดงัน้นั กระบวนการพัฒนานโยบายด้านพืชกระท่อมจึง ต้องมีการพัฒนาองค์ความรู้ด้วยกระบวนการมีส่วนร่ วม ที่ครอบคลุมหลายมิติเพื่อการยอมรับองค์ ความรู้ร่ วมกันของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีแผนงาน และตัวช้ีวดัในระยะ ยาวที่ครอบคลุมท้ังมิติ ความส าเร็จและผลกระทบของนโยบาย ตลอดจน รณรงค์ให้ความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับพืช กระท่อม และเหตุผลความจ าเป็ นในการพัฒนานโยบายเพื่อลดความขัดแย้งในสังคม

abstract:

ABSTRACT Title: A Study of the development of policy to repeal “Kratom” from a category 5 of drugs under the Narcotics Act. Field:Psycho-Social Name : Mr. Vittawan Sunthornkajit Course NDC (JSPS) Class 26 This research aims to study the development of policy to repeal “Kratom” from a category 5 of drugs under the Narcotics Act 1979 and comparative study the opinion on cancellation Kratom out of the Narcotics Control Law. This quantitative study used a purposive sampling tool of choice, including the general population, staffs of the Office of Narcotics Control Board, polices and public health officials in the area of the Narcotics Control Office Region 1-9 and Bangkok metropolitan in total 400 people. Data were collected by questionnaire. The results showed that there are 4 policy options that the number of respondents agreed with in order namely:- 1) not amended the law regarding Kratom and leaved it as a category 5 of drugs under the law, 2) should not be amended Narcotics Act 1979 but should improve the regulation under the Act to support medical uses, 3) should be amended some issues in Narcotics Act 1979 and 4) repeal Kratom from the law. Most respondents perceive that chewing Kratom is not a guilty. It is a community way of life, not create a criminal and social problem and don’t feel worried about the safety of life and property if relatives, friends, members of the school / workplace / community is a kratom eater. They disagree about the liberalization use and processing of Kratom. The most respondents also are uncertain on the control process of Kratom. The study found that people living in different areas have different opinions on Kratom. By those who live in the southern region have positive perception on the Kratom using more than those who live in the Northeast region and those with knowledge about Kratom has a different opinion about the control and the benefits of Kratom. Kratom policy development process had to be developed a participatory learning that cover several dimensions to the adoption of knowledge sharing from the stakeholder. Long term plan and indicator that encompasses both dimensions, the policy achievement and the impact of policies including the campaign for a better understanding about Kratom and the need to develop policies has to be done to reduce social conflicts.