Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: ยุทธศาสตร์นวัตกรรมภูมิภาค : หุบเขาอาหารภาคเหนือตอนบนประเทศไทย กรณีศึกษาจังหวัดเชียงใหม่

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการทูต/Diplomacy
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย วิเชียร เชิดชูตระกูลทอง
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2556
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

บทคดัยอ่ เรืÉอง ยุทธศาสตร ์ นวตักรรมภูมิภาค: หุบเขาอาหารภาคเหนือตอนบนประเทศไทย (กรณศีึกษาจงัหวัดเขียงใหม่ ) ลกั ษณะวชิา ยุทธศาสตร ์ ผ ู้วจิยั นายวเิชียร เชิดชูตระกูลทอง หลกั สูตร ปรอ. รุ่นทีÉ๒๖ หุบเขาอาหารภาคเหนือ (Northern Thailand Food Valley : NTFV) เป็ นโครงการจากนโยบาย หลกัของประเทศทีÉดาํ เนินงานผา่ นหลายหน่วยงานทÊงของภาครัฐ ั และเอกชน เพืÉอการพฒั นาและผลกัดนั ให้ สร้างนวตักรรมในอตุ สาหกรรมเกษตร-อาหารของพืÊนทีÉภาคเหนือตอนบน มุ่งเนน้ ให้ต่อยอดผลงานวิจยัไป สู่ตลาดไดท้ นั ต่อการเปลีÉยนแปลงของพลวตัรตลาดเป็นศูนยป์ ระสานในการทดสอบผลิตภณั ฑแ์ละตลาด ใหม่ๆ และ ส่งเสริมการจา้งงานขนาดใหญ่ในพÊืนทีÉ เป้าหมายหลกัของการวิจยัพฒั นามุ่งไปทีÉการพฒั นา งานวิจยัสินคา้เกษตร เพืÉอเพิÉมมูลค่าสินคา้ พฒั นาพนัธุ์สินคา้และระบบผลิตทีÉเพิÉมประสิทธิภาพกบั สินคา้ กลุ่มเป้าหมายในพืÊนทีÉ ผลการวิจยันÊีพบวา่ ปัจจยัสาํคญั ในการขบั เคลืÉอนโครงการ NTFV คือ การสร้างเครือ ข่ายผปู้ระกอบการเป็นคลสั เตอร์ปัจจยัรองมาไดแ้ก่การกาํหนดแผนแม่บทในระยะ 10 ปี การสร้างกลไก ขบั เคลÉือนหลกั (Command Center) การสร้างกิจกรรมกระตุน้ ตลาด(DemandSize) การพฒั นาบุคลากร รองรับอุตสาหกรรม งานวิจยัศึกษาความตอ้งการSMEs ทีÉร่วมในโครงการ และการเกิดกองทุนพฒั นางาน นวตักรรม ปัจจยัทÊงหมดนี ั Êจะเกิดผลตอ้งมีการประสานงานกบั หน่วยงานภาครัฐรวมทÊงัสถาบนัการศึกษา/ มหาวิทยาลยั ใหเ้กิดเป็นความร่วมมือจาก3 ภาคส่วน ทีÉเรียกว่า Triple Helix ให้เกิดการสร้างฐานความรู้/ ขอ้ มูลการสร้างตลาดรองรับ การสร้างความร่วมมือภาครัฐ-ภาคเอกชน (Public Private Partnership: PPP) และการมีทุนสนบั สนุนในลกัษณะกองทุน โดยกาํหนดเป็นแผนยทุ ธศาสตร์เป็นลาํดบั ไดแ้ก่1.) การสร้าง เครือข่ายวิจยัและนวตักรรม รวมทัÊงการถ่ายทอดเทคโนโลยี2.)การตลาดสร้างสรรคเ์ชิงรุกในทุกระดบั 3.) การพฒั นาขีดความสามารถทรัพยากรมนุษยของภาครัฐ ภาคการศึกษาและภาคเอกชน 4.) ์ การส่งเสริมเรืÉอง ทุน-งบประมาณ และ 5.) กาํหนดนโยบายการพฒั นาอุตสาหกรรมอาหารตามแผนยทุ ธศาสตร์ในระยะ10 ปี ขอ้เสนอแนะจากงานวิจยันÊี คือ ตอ้งมุ่งเนน้ ทีÉการสร้างระบบการรับรู้ในดา้นวจิยัพฒั นาและนวตักรรมให้ได้ ในระดบั ใกลเ้คียงกนั เพÉอืการขบั เคลÉือนโครงการทีÉมีเอกภาพ และ สอดคลอ้งกบัยทุ ธศาสตร์ระดบั ประเทศ การฝี อบรมบุคลากรภาครัฐให้ทาํงานร่วมกบั ภาคเอกชนไดดี อีกทั ้ Êงตอ้งมีการคน้ควา้วิจยัเชิงนวตักรรมดา้น เกษตร-อาหารในพืÊนทีÉอยา่ งต่อเนืÉอง ควรสร้างความเชืÉอมโยงกบัองคก์รดา้นวทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ิ ใน ระดบั ประเทศเพืÉอพฒั นาระบบมาตรฐานดา้นความปลอดภยัและการส่งออก ควรมีการศึกษาต่อเนÉืองเพืÉอ เชืÉอมโยงคลสั เตอร์อาหารนวตักรรมภาคเหนือกบัคลสั เตอร์อืÉนๆ เช่น พลงังาน อุตสาหกรรมสีเขียวเป็นตน้ ก

abstract:

ABSTRACT Title Regional Innovation Strategy: Northern Thailand Food Valley, Case Study in Chiang Mai Field Strategy Name Mr.Wichien Cherdchutrakuntong Course NDC (JSPS) Class 56 Northern Thailand Food Valley (NTFV) is the project supported by National’s policy that is authorized via governmental agencies and private units. It aims mainly to develop and drive innovations and networking among food industries in the upper Northern Thailand. The project focuses firstly on implementing research work to market early enough to dynamic changes, organizing center for new products and markets, and promoting substantial labor hiring in the area. The research and development (R&D) points mainly at agricultural products for more added value, a variety of new seeds, and more productivity in manufacture of targeted products. Findings from this research, the most important factor to drive NTFV project successfully is networking of entrepreneurs as cluster. The other factors are respectively the master plan covering 10 years, organizing main driver as a command center, creating activities to increase market demand, developing personnel serving the industry, research for SMEs’ needs to succeed firmly, and establishing innovation funds. Despite all the factors, another crucial need is continuing cooperation among 3 parties of government, education/ research and private sectors, called “Triple Helix”. It will practically increase potentials from knowledge management, demand creation, public private partnership (PPP), and investment subsidization. The strategic plan is set chronically as following, 1) networking of researches, innovations and technology transmission 2) creating assertive marketing 3) improving human capability of all the 3 parties 4) subsidizing investment budgets and 5) setting policy to develop food industry as strategic plan lasting 10 years. Key recommendations from this research are focusing on perception of researches and innovations in all levels to drive the project outstandingly according to the national strategy, training human resources of government sector to work harmoniously with private sector, and creating research of food innovations continuously in the area by connecting with science and technology organizations thorough the country, for more quality standards and export. It should have further study of innovative food cluster networking with relating clusters like energy, green industries and more.