Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการพัฒนาความร่วมมือและการประสานงานระหว่างพลเรือนกับทหารในการบรรเทาสาธารณภัยในประเทศไทย

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการทหาร/Military
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, พลตรี รักศักดิ์ โรจน์พิมพ์พันธุ์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2556
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื อง แนวทางการพัฒนาความร่วมมือและการประสานงานระหว่างพลเรือนกบทหาร ั ในการบรรเทาสาธารณภัยในประเทศไทย ลักษณะวิชา การทหาร ผ้วิจัย ู พล.ต.รักศักดิ$ โรจน์พิมพ์พันธุ์ หลักสูตร ปรอ. ร่นที ุ ๒๖ การวิจัยนี,เป็ นการศึกษาเกี0 ยวกบแนวทางการพัฒนาความร ั ่วมมือและการประสานงาน ระหวางพลเรือนก ่ บทหารในการบรรเทาสาธารณภัยในประเทศไทย ในฐานะที0กระทรว ั งกลาโหม เป็ นหน่วยสนับสนุนหลักตามแผนการป้ องกนและบรรเทาสาธารณภัยแห ั ่งชาติ พ.ศ.๒๕๕๓ - ๒๕๕๗ ซึ0 งมีวัตถุประสงค์เพื0อศึกษาความร่วมมือและการประสานงานระหว่างพลเรือนกบทหารในการบรรเทา ั สาธารณภัยในประเทศไทย มาใช้เป็ นข้อมูลในการจัดทําข้อเสนอเก ี0 ยวกับแนวทางการพัฒนาความ ร่วมมือและการประสานงานระหวางพลเรือนก ่ บทหารในการบรรเทาสาธารณภัยในประเทศไทย โดย ั ทําการวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้รูปแบบการศึกษาข้อมูลเอกสารประกอบด้วย วิเคราะห์เอกสารงานวิจัยที0 เก ี0ยวข้อง รวมทั,งการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ นักวิชาการ และผู้บริหารภาคธุรกิจ นอกจากนี,ยังใช้ ข้อมูลจากประสบการณ์ตรงที0ผู้วิจัยได้มีโอกาสเข้าร่วมการประชุมและสัมมนาที0เกี0ยวข้องกับการ ประสานงานระหวางพลเรือนก ่ บทหารในการบรรเทาสาธารณภัยและการช ั ่วยเหลือด้านมนุษยธรรม ทั,งในประเทศและต่างประเทศหลายครั,ง โดยผลการวิจัยพบว่าการประสานงานและความร่วมมือ ระหวางทหารก ่ บพลเรือน ซึ0งรวมถึงภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาสังคม ั นับได้วาเป็ นปัจจัยหนึ0ง ่ แห่งความสําเร็จของการจัดการสาธารณภัยของประเทศไทย และจําเป็ นต้องมีการแนวทางในการ ประสานงานที0สามารถใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื0อลดช่องว่างในการบรรเทาสาธารณภัย ดังนั,น จึงควรมีการพัฒนาและยกระดับความสัมพันธ์ทั,งระหว่างบุคคลและองค์กร โดยการสร้างช่องทางใน การติดต่อสื0อสารระหว่างกันได้โดยตรง การจัดกิจกรรมร่วมเพื0อสร้างโอกาสให้เกิดการปฏิสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลและองค์กร การเสริมสร้างลักษณะนิสัยของการทํางานเป็ นทีม การมอบหมายงาน ที0กลุ่มหรื อองค์กรภาคเอกชนและภาคประชาสังคมมีความสนใจและอยากทํา รวมทั,งสร้าง ความรู้สึกว่าพวกเขาคือส่วนหนึ0งของความสําเร็จร่วมกนของประเทศไทย นอกจากนี ั ,ยังสามารถ ดําเนินการพัฒนาความร่วมมือและการประสานงานโดยการจัดเวทีให้ทุกภาคส่วนที0เกี0ยวข้องแสดง ความมีส่วนร่วม อาทิ การเปิ ดโอกาสในการแสดงความคิดเห็นและการประชุมปรึกษาหารือระหวาง่ กน เวที การรับทราบข้อมูลที0จําเป็ นในการทํางาน และการยก ั ยองชมเชยอย ่ างสมํ0าเสมอ เป็ นต้น การ ่ ชี,แจงให้ทุกภาคส่วนเข้าใจในบทบาทของกนและก ั น รวมถึงบทบาทของแต ั ่ละคนภายในทีมและ ระหวางทีมย ่ อยขององค์กร และที0สําคัญควรก ่ าจัดความคิดในการแข ํ ่งขันทํางานเพื0อเอาชนะกนและ ั กน หรือเพื0อสร้างชื0อเสียงให้ก ั บตนเองหรือหน ั ่วยงาน นอกจากนี,ควรมีการสร้างแรงจูงใจในการ ทํางานร่วมกนทั ั ,งระหวางพลเรือนก ่ บทหาร และระหว ั างพลเรือน (ภาครัฐ) ก ่ บพลเรือน (ภาคเอกชน ั และภาคประชาสังคม) ต่อไป

abstract:

ABSTRACT Title : Guidelines on the Development on Cooperation and Coordination between Civil and Military in DisasterRelief in Thailand Field : Miitary Name : Maj.Gen.Raksak Rojphimphun Course NDC (JSPS) Class 26 This research focus on studying guidelines on the development on cooperation and coordination between civil and miltiary in disaster relief in Thailand. The obecjectives of this research are studying the cooperation and coordination between civil and military in disaster relief in Thailand by using qualitative research method. There are review related academic papers amd interview scholars both acedemics and in private sector. Additionally, the direct experiences of the researcher from attending many related meetings, conferences, and workshop both in Thailand and other countries. The result of this research shows that the cooperation and coordination between civil and military including governmental agencies, private sectors, and civil society organizations (CSOs) is a major key success of the national disaster management. It must have the coordination guideline that can be decrease the gap between agencies or organization especially civil and military. Therefore, there should develop and strengthen the relationships between actors and organizations by setting up direct communications, joint activities, team building, properly work assignment and willing participation. Furthermore, the forum is a good way to practice the participation of all stakeholders. This will diminish the misunderstanding among them. Importantly, the winner minds of each stakeholder must be reduced and the team work must be strengthened.