Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: การเข้าเป็นสมาชิกความตกลง TPP (Trans-Pacific Partnership) กับการปฏิรูประบบเศรษฐกิจการค้าของไทยในอนาคต

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเศรษฐกิจ/Economics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย พิทักษ์ อุดมวิชัยวัฒน์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2556
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื อง การเข้าเป็ นสมาชิกความตกลง TPP (Trans-Pacific Partnership) กบการปฏิรูประบบ ั เศรษฐกิจการค้าของไทยในอนาคต ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ ผ้วิจัย ู นายพิทักษ์ อุดมวิชัยวัฒน์ หลักสูตร ปรอ. ร่นที ุ 26 TPP เป็ นความตกลง FTA ที=มีมาตรฐานสูงสุด ณ ขณะนี? ครอบคลุมทุกสาขาเศรษฐกิจ เพื=อรองรับการค้าสินค้าและบริการในระบบเศรษฐกิจยุคดิจิตอล ที=ผ่านมา ภาคธุรกิจเอกชนและ เกษตรกรได้คัดค้านไม่ให้ประเทศไทยเข้าร่วมเจรจา TPP ด้วยเกรงวาจะได้รับผลกระทบทางลบจาก ่ การเปิ ดเสรี เอกสารวิจัยฉบับนี?จึงมีวัตถุประสงค์เพื=อศึกษาปัจจัยที=มีผลต่อการพิจารณาเข้าเป็ น สมาชิก TPP และผลกระทบของ TPP ต่อประเทศไทยในด้านต่างๆ รวมทั?งการปฏิรูประบบ เศรษฐกิจการค้า การผลิต และกฎหมายที=เกี=ยวข้องเพื=อรองรับ TPP โดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิ พร้อมกบั การสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ ในสาขาต่างๆ จํานวน 8 ท่าน ประกอบการศึกษานี? ผลการศึกษา พบวา TPP จะเป็ นประโยชน์ต ่ ่อประเทศไทยในภาพรวม กล่าวคือ นอกจาก จะช่วยรักษาและดึงดูดการค้าและการลงทุน ยังจะช่วยรักษาและขยายตลาดการค้าของไทยใน ประเทศสมาชิก TPP โดยเฉพาะ สหรัฐอเมริกา แคนาดาและเม็กซิโก ซึ=งประเทศไทยยังไม่ได้ทํา FTA กบประเทศทั ั ?งสามนี? อยางไรก ่ ็ตาม TPP ก็ส่งผลกระทบทางลบต่อประเทศไทย โดยเฉพาะ สินค้าเกษตร เช่น ผลิตภัณฑ์นม เนื?อวัว สุกร และเนื?อไก่ และสินค้าอุตสาหกรรม เช่น ยา ยานยนต์ และอิเล็กทรอนิกส์ เป็ นต้น นอกจากนี? ยังมีผลกระทบทางลบต่อสาขาโทรคมนาคม การเงิน การจัด ส่งด่วน เป็ นต้น TPP ยังทําให้ประเทศไทยต้องแก้ไขกฎหมาย อาทิ เช่น ทรัพย์สินทางปัญญา การจัดซื?อจัดจ้างโดยรัฐ การแข่งขัน แรงงาน และสิ=งแวดล้อม เป็ นต้น ด้วยเหตุนี? จึงจําเป็ นที=จะต้อง มีการปฏิรูประบบการผลิตการค้าสินค้าเกษตรและอุตสาหกรรม โดยเฉพาะในด้านมาตรฐานสินค้า การพัฒนาบุคลากร และการยกระดับจากการรับจ้างผลิตเป็ นเจ้าของแบรนด์การผลิตเพื=อส่งออก ผู้วิจัยจึงมีข้อเสนอแนะให้ประเทศไทยเข้าร่วมเจรจา TPP โดยเร็ว พร้อมกบให้มีการ ั ปฏิรูประบบการผลิตการค้าอย่างเป็ นรูปธรรม เพื=อปรับตัวรองรับ TPP พร้อมกบให้มีหน ั ่วยงานกลาง ทําหน้าที= Think Tank ในการเสนอข้อมูลด้านวิชาการประกอบการตัดสินใจในระดับนโยบาย และ ให้มีหน่วยงานทําหน้าที=ให้ความช่วยเหลือเยียวยาผู้ประกอบการที=ได้รับผลกระทบจากการเปิ ดเสรี อยางบูรณาการ และเป็ นรูปธรรม โดยมีกฎหมายรองรับ พร้อมจัด ่ ตั?งกองทุนให้ความช่วยเหลือ ทั?งนี? ยังได้เสนอแนะให้มีการศึกษาในรายละเอียดทั?งเชิงลึกและกว้างในแต่ละเรื=องเจรจาต่อไป

abstract:

ABSTRACT Title Thailand’s Accession to the Trans Pacific Partnership (TPP) and Its Economic Reform in the Future Field Economics Name Mr. Pitak Udomwichaiwat Course NDC (JSPS) Class 26 The Trans Pacific Partnership or so-called TPP is regarded as the most comprehensive trade agreement which covers all aspects of economic issues for trade negotiations to be compatible with the current trade practice. There have been however arguments among private and agricultural sectors over Thailand’s participation in the TPP negotiation due to the negative impacts of such trade liberalization. The purpose of this qualitative research is then to study the factors affecting Thailand’s accession and the impact of the TPP on various facets including the economic reform, trading, manufacturing, and related law and regulations. A secondary data was applied to the research along with interviews with eight experts. Research findings suggest that the TPP will be beneficial to Thailand in terms of maintaining and attracting trade and investment. Furthermore, the TPP will provide a greater access towards the TPP members’ markets, especially those of the United States, Canada, and Mexico which Thailand does not yet have a free trade agreement with. There are somehow negative effects of the TPP, at least, in four areas: 1. agricultural products, such as, dairy products, beef, pork, and chicken meat; 2. industrial goods, such as, pharmaceutical products, vehicles, and electrical appliances; 3. services, such as, telecommunication, financial sector, and express delivery services; and 4. possible amendments of Thai laws and regulations, such as, intellectual property rights, government procurement, competition policy, labor, and environment. Therefore, the reform of manufacturing and agricultural production systems is necessary, particularly product standards, human resource development, and the enhancement of branding for exportation. This research recommends that for Thailand’s benefit, a participation in the TPP negotiation should be urgently initiated with a concrete reform of production and trading system in order to prepare for the prospective implementation of the TPP. More importantly, an establishment of a central agency as the “Think Tank” to provide an academic data for the policy level is necessary. It is essential to have an integrated agency that provides trade remedy for those negatively affected sectors or entrepreneurs as well. By this, the aforementioned agencies shall be set up as legal authorities and a remedy fund shall be provided by the government. This research also recommends that a comprehensive and in-depth study of each negotiating issue is further required.