Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: ระบบธรรมมาภิบาลที่ดีในรัฐวิสาหกิจ

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติการเมือง/Politics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาง ปานทิพย์ ศรีพิมล
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2556
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรืÉอง ระบบธรรมาภิบาลทีดÉ ีในรัฐวสิาหกจิ ลกัษณะวชิา การเมือง ผ ู้วจิัย นางปานทิพย ์ ศรีพมิล หลกัสูตร ปรอ. รุ่นที É ๒๖ รัฐวิสาหกิจคือกิจการของรัฐทีÉถูกตัÊงขึÊนมาเพืÉอเป็ นเครืÉองมือของรัฐในการดาํ เนินการผลิต สินคา้และบริการเพืÉอสนองตอบต่อความตอ้งการของประชาชน และสนองตอบต่อการดาํ เนินการตาม นโยบายของรัฐบาลโดยในการกาํกบัดูแลรัฐวิสาหกิจ มีหน่วยงานภาครัฐหลายหน่วยงานทีÉทาํ หน้าทีÉ ต่างๆ ซึÉงหนึÉงในนัÊน คือกระทรวงการคลงั โดยสาํ นกังานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ(สคร.) ทาํ หนา้ทÉีหลกัในการกาํหนดนโยบายผลกัดนั และกาํกบัดูแลใหร้ัฐวิสาหกิจสามารถดาํ เนินการกิจการและ บริหารจดัการองค์กร ไดอ้ย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล มีความมนคงทางการเงิน และมีระบบ ัÉ ธรรมาภิบาลทีÉดีในปัจจุบนั มีรัฐวิสาหกิจทีÉ สคร.กาํกบัดูแลโดยตรง จาํนวน ๕๖ แห่ง โดย สคร. ไดน้ าํ ระบบธรรมาภิบาลทีÉดี มาใช้ในการกาํกบัดูแลรัฐวิสาหกิจควบคู่ไปกบั ระบบประเมินผลการดาํ เนินงาน ของรัฐวิสาหกิจและต่อมาไดด้ าํ เนินการปรับปรุงและพฒั นาระบบธรรมาภิบาลทÉีดีอย่างต่อเนืÉองจนถึง ปัจจุบนั โดยระบบธรรมาภิบาลทÉีดีในการกาํกบัดูแลรัฐวิสาหกิจทÉีมีอยูใ่ นปัจจุบนั ประกอบดว้ย ๕ ด้าน ได้แก่ หลักการและแนวทางการกํากับดูแลทÉีดีในรัฐวิสาหกิจ (CG) การบริ หารความเสีÉยง (Risk Management) และการควบคุมภายใน (Internal Control) คณะกรรมการตรวจสอบภายในรัฐวิสาหกิจ (Audit Committee) และการตรวจสอบภายในของรัฐวิสาหกิจ (Internal Audit) มาตรฐานการบัญชี (TFRS) และการเปิดเผยขอ้ มูลของรัฐวิสาหกิจ ซึÉงการนาํระบบธรรมาภิบาลทีÉดีไปประยุกต์ใช้และถือ ปฏิบตัิในการกาํกบัดูแลทÉีดีในรัฐวิสาหกิจ ปรากฏว่ายงัมีปัญหาในบางประเด็น เช่น กรณีมาตรฐานการ บญั ชี(TFRS)ไม่สอดคลอ้งกบั มติคณะรัฐมนตรีทÉีเกÉียวขอ้ง หรือการดาํ เนินการตามคู่มือปฏิบตัิของการ ตรวจสอบภายในของรัฐวสิาหกิจ (Internal Audit) ยงัมีความไม่ชดัเจน ก่อให้เกิดปัญหาและอุปสรรคใน การดาํ เนินงานของรัฐวิสาหกิจดงันÊน เพื ั Éอให้รัฐวสิาหกิจสามารถนาํระบบธรรมาภิบาลทีÉดีในการกาํกบั ดูแลรัฐวิสาหกิจไปใชใ้ห้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อองคก์ร สามารถส่งเสริมและสนบั สนุนการดาํ เนินงาน ตลอดจนสามารถบริหารจดัการองค์กร ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลอีกทÊงัยงัอาจสามารถ ช่วยป้องกนัและปิดช่องโหวใ่ นการทุจริตในดา้นต่างๆ ของรัฐวิสาหกิจไดใ้นอีกทางหนÉึง ข จากการวิเคราะห์ภาพรวมประเด็นปัญหา/อุปสรรคดงักล่าวขา้งตน้ ผูศ้ึกษาขอเสนอแนะ แนวทางการแก้ไข การปรับปรุ งและพัฒนาการนําระบบธรรมาภิบาลทีÉดีมาใช้ในการกํากับดูแล รัฐวสิาหกิจเป็นดงันÊี ๑. การปรับปรุงและพัฒนาหลักการ/หลักเกณฑ์/คู่มือหรือแนวทางปฏิบัติในระบบ ธรรมาภิบาลทีÉดีใหม้ีความชดัเจน ๒. เผยแพร่และซักซ้อมความเขา้ใจในหลกัการ/หลกั เกณฑ์/คู่มือหรือแนวทางปฏิบตัิใน ระ บ บ ธ รรม าภิ บ าล ทีÉดี ทีÉมี ก ารเป ลีÉยน แป ล ง โด ยก ารออ ก ห นังสื อเวียน แ จ้งให้ ท ราบ ห รื อ จดัอบรมสัมมนาให้แก่รัฐวิสาหกิจ รวมทÊังจัดทําแผนฝึกอบรมสัมมนาการนําระบบต่างๆ ไปใช้ โดยการกาํหนดแผนงานและระยะเวลาทÉีเหมาะสมและมีความต่อเนÉืองกนั ๓. เพิÉมและพัฒนาการสร้างความตระหนักถึงความสําคัญ/ข้อดี/ประโยชน์ในแง่ ตวัองค์กรผูถ้ือหุ้น และผูม้ีส่วนได้ส่วนเสีย ในการนําระบบธรรมาภิบาลทีÉดีไปใช้ให้กบั รัฐวิสาหกิจ ในทุกระดบั ๔. ควรสร้างระบบการติดตามและกํากับดูแลการปฏิบัติตามระบบธรรมาภิบาล ทีÉดีให้ครอบคลุมทุกส่วนและเป็นรูปธรรมชดัเจน สอดรับไปกบั ระบบประเมินผลการดาํ เนินงานของ รัฐวิสาหกิจ เพÉือให้การบังคับใช้มีประสิ ทธิ ภาพ พร้อมทัÊง ต้องกําหนดมาตรการการลงโทษ ทีÉส่งผลอยา่ งมีนยัสาํคญั ต่อรัฐวสิาหกิจดว้ย ๕. พฒั นาและสร้างความเชีÉยวชาญเฉพาะดา้นแก่เจา้หนา้ทÉีสคร. เพืÉอให้สามารถช่วยเหลือ หรือใหค้าํแนะนาํขอ้เสนอแนะในเชิงลึกอยา่ งถูกตอ้งและชดัเจนแก่รัฐวสิาหกิจได ้

abstract:

ABSTRACT Subject State Enterprise Governance System Field Politic Researcher Mrs. Pantip Sripimol, Course NDC (JSPS) Class. 26 State-owned Enterprise (SOE) is established as a public enterprise with the duty of providing public goods and services for well-being of Thai citizen and it is also responsible for supporting and implementing the Government policies. According to the SOE regulation in Thailand, there are many public agencies that govern the SOEs’ operation under their specific responsibility and regulations. One of those public agencies is State Enterprise Policy Office (SEPO), Ministry of Finance, which has its principle mandate to develop and drive the SOEs’ policies, and monitor and evaluate the SOE’s operation and performance for their effectiveness and efficiency enhancement in the areas of their services, financial stability, and good governance. Currently, SEPO directly governs 56 SOEs and it has adopted the SOEs’ governance system since 1995 together with the SOEs’ performance appraisal system. In addition, he SOEs’ governance system has been developed continuously until present. The current 5 key SOEs’ governance tools arePrinciple and Guideline for the Good Corporate Governance, Risk Management and Internal Control, Audit Committee and Internal Audit, Thai Financial Report Standard (TFRS), and Information Disclosure Guideline. The 5 tools are implemented by the SOEs and some problems and obstructs are identified such as some Thai Financial Report Standard (TFRS) do not comply with the related Cabinet’s resolutions or some parts of the Codes of Conduct for the Internal Audit are still unclear. The problems raise difficulty and obstruct the SOEs’ operations. Therefore, in order to enhance the application of the SOE governance tools for achieving the most benefit for SOEs and to be able to operate and manage the SOEs effectively, efficiently and transparently without any corruption. From analyzing overall problems and obstructs mentioned above, the researcher has suggestions for solving those problems and improve the SOEs’ governance system as follow: 1. Amend and improve the principles, regulations, guidance or practices of SOE’s governance system to ensure its clarity. 2. Promote the understanding of the principles, regulations, guidance or practices of SOE’s governance system by issuing circular notices or arranging seminars for SOEs. Moreover, implementation training programs should be created by setting up framework with proper time and continuity to build up understanding for SOEs. 3. Increase awareness of significance, merits and benefits to SOEs’ organizations, shareholders, and stakeholders in all levels from implementing the SOEs’ governance. 4. Create the monitoring and governing system to keep SOEs complying the SOEs’ governance system in every angle and the governing system must be also in line with the SOEs’ existing appraisal system to ensure its efficient enforcement. Moreover, punishment measures that impact SOEs significantly such as monetary or budget incentives must also be set. 5. Develop specialized stills to the SEPO people to be able to help and provide correct and clear advices to SOEs.