เรื่อง: การพัฒนาระบบการบริหารงานบำรุงรักษาทางและสะพาน กรุงเทพมหานคร
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการศึกษา/Education
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย ประสาร พิทักษ์วรรัตน์
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2556
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรื
อง การพัฒนาระบบการบริหารงานบํารุงรักษาทางและสะพานของกรุงเทพมหานคร
ลักษณะวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ผ้วิจัย ู นายประสาร พิทักษ์วรรัตน์ หลักสูตร ปรอ. ร่นที
26 ุ
โครงการวิจัยนี$มีวัตถุประสงค์เพื'อศึกษาระบบการบริ หารงานบํารุงรักษาทางและ
สะพานที'อยูในความดูแลรับผิดชอบของกรุงเทพมหานคร โดยเป็ นการระดมคว ่ ามคิดจากเจ้าหน้าที'
ในส่วนต่างๆและรวบรวมปัญหาที'ก่อให้เกิดผลกระทบต่อการบริหารงาน เพื'อนําข้อมูลมาวิเคราะห์
และเสนอแนวทางในการพัฒนาระบบบริหารงานบํารุงรักษาทางและสะพานที'มีประสิทธิภาพดี
ยิงขึ ' $น
การทําวิจัยได้เริ'มจากการทบทวนเอกสารของต่างประเทศที'เกี'ยวข้องกับระบบ
บริหารงานบํารุงรักษาทางและสะพาน และศึกษาความกาวหน้าการพัฒนาระบบของกรมทางหลวง ้
และกรมทางหลวงชนบทในประเทศไทย เมื'อทราบภาพรวมของเนื$อหาในการพัฒนาระบบ จึงได้
เตรี ยมหัวข้อและดําเนินการพูดคุยสัมภาษณ์กับเจ้าหน้าที'ระดับผู้บริ หารและเจ้าหน้าที'ระดับ
ปฏิบัติการ ซึ' งครอบคลุมเนื$อหาหลัก อันได้แก่ ระบบฐานข้อมูลทางและสะพาน การตรวจสอบ
ความเสียหาย การประเมินระดับความรุนแรง การเลือกวิธีซ่อมบํารุง การประมาณราคา การจัดลําดับ
ความสําคัญงานซ่อมบํารุง และการเสนอของบประมาณ โดยผลการสัมภาษณ์ได้ถูกนํามาเรียบเรียง
เป็ นประเด็นต่างๆแยกออกเป็ น : กลุ่มข้อมูล คือ ความต้องการ ปัญหา และข้อจํากด ในลําดับสุดท้าย ั
ผู้วิจัยได้ใช้ความรู้และประสบการณ์ด้านงานทางและงานสะพานในการวิเคราะห์กลุ่มข้อมูลและ
สรุปเป็ นแนวทางในการพัฒนาระบบการบริหารงานบํารุงรักษาทางและสะพานที'เหมาะสม
สํานักการโยธา กรุงเทพมหานคร ควรแบ่งการพัฒนาระบบบริหารงานโครงสร้าง
พื$นฐานออกเป็ นระยะต่างๆ โดยระยะแรกควรเน้นการพัฒนาระบบทางและสะพานให้สามารถใช้
งานจริงในภาคปฏิบัติได้ก่อน โดยอาจใช้ระบบทางและสะพานของกรมทางหลวงเป็ นต้นแบบและ
ดัดแปลงให้เหมาะสมกบกรุงเทพมหานคร ซึ'งจะช ั ่วยให้การพัฒนาระบบเป็ นไปอยางรวดเร็ว สํานัก ่
การโยธา ควรสรุป การแบ่งกลุ่มข้อมูล รูปแบบมาตรฐานข้อมูล วิธีการตรวจวัด วิธีการประเมิน
เพื'อให้ข้อมูลที'จะจัดเก็บมีความสมํ'าเสมอ สามารถใช้สื'อสารให้เข้าใจตรงกน ควรนําวิธีการที'สํานัก ั
การโยธามีอยูแล้วมาพัฒนาต ่ ่อให้เป็ นระบบคอมพิวเตอร์ที'สามารถประมวลผลข้อมูลได้อยางถูกต้อง ่
และรวดเร็ว นอกจากนี$ควรวางแผนการทํางานเป็ นวงรอบ เพื'อให้เกิดการใช้งานฐานข้อมูลเป็ น
ประจํา และดําเนินการเก็บประวัติข้อมูลด้านต่างๆในระยะยาวเพื'อใช้ประโยชน์ในการสร้าง
แบบจําลองในอนาคต
abstract:
ABSTRACT
Title The Development of Pavement and Bridge Management System for Bangkok
Field Science and Technology
Name Mr. Prasarn Pitaksvoratana Course NDC (JSPS) Class 26
This research was conducted to study the current situation of pavement and bridge
management in Bangkok. Ideas and problems associated with management were collected and analyzed
to propose a guideline for developing a better pavement and bridge management system.
It started with literature reviews of pavement and bridge management systems used in
different countries. Then, study the systems developed in Thailand: Department of Highways (DOH)
and Department of Rural Road (DRR). The review provided an overview of the system. The topics
were prepared and the discussion with executive officers and practice officers were conducted in the
following areas: pavement and bridge database, damage inspection, damage evaluation, treatment
selection, cost estimation, prioritization, and budgeting. The discussion was then summarized into
issues and classified to 3 groups: user desires, problems, and constraints. Finally, the author applied
knowledge and experience in these fields to qualitatively analyze the issues and propose the
development guidelines.
Public Work Department (PWD),Bangkok,should plan the development of asset
management system into several phases. The first phase should emphasize on pavement and bridge
systems such that they can be used in practice. The DOH pavement and bridge management systems
can be used as prototypes and modified to fit the PWD needs to expedite the development. PWD
should standardize classification, format, measurement, evaluation, and etc, in order to provide
consistent data for effective communication. Manual calculations should be implemented to a computer
program to process the data quickly and correctly. Management cycle should be planed and performed
to keep the database running regularly. Different types of data should be collected in the long term for
use in the future model development.