เรื่อง: แนวทางการดำเนินคดีความผิดฐานก่อการร้ายของประเทศไทย
|
หมวดหมู่:
|
งานวิจัย
|
มิติ:
|
มิติการเมือง/Politics
|
พื้นที่/ขอบเขต:
|
ภายในประเทศ/Domestic/Local
|
ผู้เขียน:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย นิติ สุขเจริญ
|
หน่วยงานเจ้าของ:
|
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
|
ปีที่พิมพ์:
|
2556
|
จำนวนหน้า:
|
|
การเปิดเผยข้อมูล:
|
สาธารณะ
|
|
บทคัดย่อ:
ก
บทคัดย่อ
เรืÉอง แนวทางการดาํ เนินคดีความผดิฐานก่อการร
้
ายของประเทศไทย
ลกัษณะวชิา การเมือง
ผ
ู้วจิัย นายนิติ สุขเจริญ หลกัสูตร ปรอ. รุ่นทีÉ 26
เอกสารวิจยัฉบบั นÊี เป็ นการศึกษาถึงความเป็นมาวตัถุประสงค์เหตุผลในการกาํหนดให้
มีความผิดฐานก่อการร้ายเพÉิมขึÊนในประเทศไทย การดาํ เนินคดีทีÉนาํ มาเป็นกรณีศึกษาถึงการบงัคบั
ใชค้วามผิดฐานก่อการร้ายทีÉผา่ นมารวมทัÊงปัญหาอุปสรรคและขอ้ขดัขอ้งในการดาํ เนินคดีความผิด
ฐานก่อการร้ายและแนวทางแกไ้ขปรับปรุงให้การดาํ เนินคดีมีประสิทธิภาพยิงขึ É Êน
การศึกษาครัÊงนีÊเป็ นการวิจยัเชิงคุณภาพ (Qualitative Research)โดยเก็บรวบรวมขอ้ มูล
จากเอกสารทีÉเกีÉยวข้องทัÊงในและต่างประเทศ และการสัมภาษณ์เชิงลึกพนักงานอยัการและ
เจา้หนา้ทีÉผู้เกีÉยวขอ้งกบังานป้องกนัและปราบปรามการก่อการร้าย
จากการศึกษาพบว่า ความเป็ นมาของการกาํ หนดให้มีความผิดฐานก่อการร้ายขึÊนใน
ประเทศไทยเมืÉอวนั ทีÉ11 สิงหาคม 2546 เกิดจากแรงผลกัดนัของปัจจยัภายนอกประเทศ หลงัเกิด
เหตุการณ์9/11 มีวตัถุประสงค์หรือเหตุผลทีÉสําคญั เพืÉอให้ความร่วมมือระหว่างประเทศในการ
ต่อตา้นการก่อการร้าย ผลของการกาํ หนดให้เป็นความผิดภายในประเทศ และเป็ นความผิดสากล
นอกจากจะดาํ เนินคดีกบัการก่อการร้ายไดอ้ย่างกวา้งขวางแลว้ ยงันาํ มาตรการทางกฎหมายอÉืนทีÉ
เกีÉยวกบัการป้องกนัและปราบปรามการก่อการร้ายมาใช้ได้ซÉึงเป็นประโยชน์ต่อการแก้ไขปัญหา
การก่อการร้ายภายในประเทศด้วย ผลจากการศึกษาพบว่า การนําความผิดฐานก่อการร้ายมา
ดาํ เนินคดีของประเทศไทย มีปัญหาในเรืÉองขอบเขตของความผิดทีÉไม่ชัดเจน จากบทบัญญัติ
ความผิดทีÉมีความหมายกวา้ง ความไม่ชัดเจนในนิยามของการก่อการร้ายระหว่างประเทศ และ
ผลกระทบทีÉเกิดจากการดาํ เนินคดีซÉึงในบางกรณีไม่สอดคลอ้งกบัแนวทางการรักษาความมนคงของ Éั
ชาติ แนวทางการดาํ เนินคดีความผิดฐานก่อการร้ายของประเทศไทย จึงควรตอ้งดาํ เนินการให้อยู่
ในขอบเขตวตัถุประสงค์หรือเหตุผลทÉีกาํ หนดให้มีความผิด มีการคาํนึงถึงผลกระทบทีÉจะเกิดขÊึน
จากการดาํ เนินคดีรวมทัÊงผลกระทบกบัความมันคงของชา É ติเป็นสําคญั ควรเน้นให้ความสําคญั กบั
การใช้มาตรการกฎหมายในเชิงป้องกนั ดว้ยการบงัคบั ใชม้ าตรการป้องกนัและปราบปรามการฟอก
เงิน และมาตรการป้องกนัและปราบปรามการสนบั สนุนทางการเงินแก่การก่อการร้ายให้มากยิÉงขึÊน
เพืÉอลดหรือตดัทอนแหล่งทุนของการก่อการร้าย ข
ผวู้จิยัมีขอ้เสนอแนะดงันÊี
1. ให้มีการปรับปรุงแกไ้ขกฎหมายป้องกนั และปราบปรามการก่อการร้าย โดยให้มี
กฎหมายป้องกนัและปรามการก่อการร้ายขÊึนเป็ นกฎหมายเฉพาะ แทนการกาํหนดความผิดฐานก่อ
การร้ายในประมวลกฎหมายอาญา และเพิÉมเติมมาตรการทางกฎหมายขึÊนบางประการเพืÉอ
ประโยชน์แก่การป้องกัน สกัด ยบั ยÊงั มิให้เกิดเหตุก่อการร้าย กับเพืÉอมิให้มีการดําเนินคดีใน
ความผิดฐานก่อการร้ายเกินไปจากขอบเขตของความผิดทีÉแทจ้ริง หรือไม่สอดคลอ้งกบัแนวทางการ
รักษาความมันคงของชาติ É
2. จดัให้มีการบูรณาการความร่วมมือของหน่วยงานบงัคบั ใชก้ ฎหมาย ทัÊงในงานดา้น
การป้องกนั และดา้นการปราบปราม เพืÉอเพิÉมประสิทธิภาพการใช้มาตรการกฎหมายในการป้องกนั
และปราบปรามการก่อการร้าย
3. ให้ภาครัฐเป็นผูม้ีบทบาทหลักในการสร้างองค์ความรู้ในเรืÉองการก่อการร้าย
เพืÉอให้เกิดความเขา้ใจทีÉถูกตอ้งแก่ประชาชน ป้องกนัความสับสน หรือนาํ มาใช้ประโยชน์ในทาง
การเมือง
abstract:
ABSTRACT
Title Guidelines on the Legal Proceedings of Terrorism Offence in Thailand
Field Politics
Name Mr. Niti Sukcharoen Course NDC (JSPS) Class 26
This research paper studies on the background, objective and rational in establishing
terrorism offence in Thailand, as well as case studies with regard to the enforcement of terrorism
offence including problems, obstacles and difficulties in legal proceedings of terrorism offence.
Additionally, the research studies the corrective ways to improve for more effective legal
proceedings.
This study is a qualitative research by gathering both related domestic and
international information, and by in-depth interviewing of prosecutors, and relevant officials in
the field of prevention and suppression of terrorism.
The study found that the background in establishing terrorism offence in Thailand on
11 August 2003 was originated by the drive of foreign factors after the 9/11 incident. The
objective or main reason in establishing terrorism offence is to facilitate the international
cooperation in anti-terrorism. The establishment of terrorism as both domestic and international
offence has resulted not only in widely prosecuting the terrorism, but also in practicably applying
other legal measures relating to the prevention and suppression of terrorism which is useful to the
domestic terrorism resolution as well. Also the study found that to enforce the terrorism offence
in Thailand, there was a problem in the unclear scope of this offence due to the broad meaning of
legal provision, the unclear definition of international terrorism, and the effect of pursuing legal
proceedings in some cases being incompliance with the national security direction. Therefore,
guidelines on the legal proceedings of terrorism offence in Thailand should be conducting under
the objective boundary, in other words, the rationale in establishing the offence. The effects from
the legal proceedings as well as the impacts to the national security shall be considered as
priority. It should be emphasized on the important of the preventive legal measures by
increasingly enforcing the prevention and suppression of money laundering measures, and the ง
prevention and suppression of financing of terrorism in order to reduce and cut off the terrorism
source of fund.
The researcher recommended as follows:
1. There should be a legislative development by enacting a specific law on
prevention and suppression of terrorism instead of just criminalizing a terrorism offence in the
Criminal Code and providing any other additional legal measures in favor of prevention,
interception, and restraint of terrorism incidents, as well as not initiating legal proceedings on
terrorism offence over the scope of genuine criminal conducts or inconsistence with the national
security direction.
2. The provision of integral cooperation among law enforcement agencies in the
field of both prevention and suppression of terrorism should be made to enhance the effectiveness
of implementing legal measures in prevention and suppression of terrorism.
3. The public sector should play a major role in providing knowledge relating to
terrorism to the people in order to make a correct understanding, and prevent the confusion or the
misuse for political exploitation.