Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: ยุทธศาสตร์การเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมเกษตรและอาหารด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเศรษฐกิจ/Economics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย ธีรนันท์ ศรีหงส์
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2556
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื อง ยุทธศาสตร์การเพิมความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมเกษตรและ อาหารด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ ผ้วิจัย ู นาย ธีรนันท์ ศรีหงส์ หลักสูตร ปรอ. ร่นที ุ 2* การศึกษานี, มีวัตถุประสงค์เพือศึกษาถึงสถานภาพในการแข่งขันของอุตสาหกรรมเกษตร และอาหารของประเทศไทยในสภาพแวดล้อมปัจจุบัน แนวโน้มของสภาพแวดล้อมการแข่งขันใน ระยะ 5-34 ปี ข้างหน้า และศึกษาบทบาทของเทคโนโลยีและนวัตกรรมในการสร้างมูลค่าเพิมให้กบั อุตสาหกรรม เพือเสนอแนะยุทธศาสตร์และแนวทางในการนําเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาเพิม ศักยภาพในการแข่งขันให้กบอุตสาหกรรมเกษตรและอาหารของประเทศไทย ั ผลการศึกษา พบว่า อุตสาหกรรมเกษตรและอาหารของประเทศไทยมีความสามารถใน การแข่งขันในการส่งออกเป็ นอันดับต้นๆ ของโลก รวมทั,งผู้ประกอบการขนาดใหญ่มีความเข้มแข็ง โดยมีกระบวนการผลิตแบบครบวงจร และใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมตลอดห่วงโซ่มูลค่า ทําให้มี ผลิตภัณฑ์ทีหลากหลาย สามารถตอบโจทย์ความต้องการด้านคุณภาพและความปลอดภัยใน ตลาดโลก ตลอดจนสามารถสร้างแบรนด์ในระดับโลกได้ อย่างไรก็ดี การใช้เทคโนโลยีและ นวัตกรรมในอุตสาหกรรมยังอยู่ในระดับตํา และไม่มีบทบาทมากนักต่อการเจริ ญเติบโตทาง เศรษฐกิจในช่วงทีผ่านมา แม้ว่าทุกภาคส่วนทีเกียวข้องได้มีการพัฒนาอุตสาหกรรมเกษตรและ อาหารอยางต ่ ่อเนือง แต่พบวายังขาดการประชาสัมพันธ์และความร ่ ่วมมือกนระหว ั างภาคส ่ ่วนต่างๆ นอกจากนี, การนําเทคโนยีและนวัตกรรมมาประยุกต์ใช้ในเชิงพาณิชย์จําเป็ นต้องใช้เงินลงทุนสูง การดําเนินการจึงยังจํากดอยู ั เฉพาะกลุ ่ ่มผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดใหญ่ทีมีศักยภาพเท่านั,น สําหรับแนวทางการเพิมความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมเกษตรและอาหาร ของประเทศไทยทีควรดําเนินการ คือ การยกระดับมาตรฐานและพัฒนาประสิทธิภาพการผลิตด้วย เทคโนโลยีและนวัตกรรมตลอดห่วงโซ่มูลค่าอยางทั ่ วถึง และส  ่งเสริมภาพลักษณ์ของอุตสาหกรรม ด้วยนวัตกรรมด้านการตลาด ทั,งนี, คงต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกฝ่ ายในการกาหนดและผลักดัน ํ ยุทธศาสตร์ทีสามารถนําเทคโนโลยีและนวัตกรรมไปประยุกต์ใช้ในเชิงพาณิชย์ได้อย่างเป็ น รูปธรรมมากขึ,น รวมถึงสามารถประเมินผลและปรับปรุงให้มีความเหมาะสมได้อยู่เสมอ เพือให้ อุตสาหกรรมเกษตรและอาหารของประเทศไทยมีความสามารถในการแข่งขันอยางยั ่ งยืน และเป็ น  แรงขับเคลือนสําคัญต่อการเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศในระยะยาว

abstract:

ABSTRACT Title Competitiveness Enhancements to Agro and Food Industry through the Application of Innovative Technology Field Economics Name Teeranun Srihong Course NDC (JSPS) Class 26 This study focuses on the prevailing competitiveness of Thailand’s agro and food industry, its outlook, as well as the role of innovative technology in adding value to the industry. The results of this assessment may be used to devise strategies to enhance the competitiveness of Thailand’s agro and food industry. The study reveals the status of Thailand’s agro and food industry, which is already among the top in global rankings, given the strengths of large corporations as exhibited in their integrated manufacturing operations, along with the application of innovative technology throughout their value chains. These endeavors have resulted in their extensive variety of production outputs to effectively respond to global demands with respect to quality and safety, thus strengthening the nation’s global brand recognition. However, from the industry’s perspective, the role of state-of-the-art technology remains relatively limited, and its contribution to the nation’s economic growth seems insignificant. Although the concerned parties have put continual efforts into developing this industry, a lack of proper public relations and productive coordination has been found. Moreover, adoption of innovative technology in commercial operations has been limited to only medium-to-large businesses with sufficient funding to absorb its related costs. Going forward, reinforcement of sophisticated new standards and production efficiencies by employing innovative technology throughout the supply chain, together with promotion of the industry’s image via creative marketing, should be included in potential guidelines towards the enhancement of Thailand’s competitiveness in the agro and food industry. To this end, more concrete cooperation among those involved is crucial. Such adoption of innovative technology in their undertakings should be measureable and adjustable as a means towards being an important driver of our long-term economic advancement, and thus achieving sustainable competitiveness for the nation as a whole.