Girl in a jacket
สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ
National Defence Studies Institute

เรื่อง: แนวทางการประกันภัยธรรมชาติที่เหมาะสมสำหรับผลผลิตเกษตร

หมวดหมู่:
งานวิจัย
มิติ:
มิติเศรษฐกิจ/Economics
พื้นที่/ขอบเขต:
ภายในประเทศ/Domestic/Local
ผู้เขียน:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, นาย จีรพันธ์ อัศวะธนกุล
หน่วยงานเจ้าของ:
วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร
ปีที่พิมพ์:
2556
จำนวนหน้า:
การเปิดเผยข้อมูล:
สาธารณะ

บทคัดย่อ:

ก บทคัดย่อ เรื อง แนวทางการประกันภัยธรรมชาติที เหมาะสมสําหรับผลผลิตทาง การเกษตร ลักษณะวิชา การเศรษฐกิจ ผ้วิจัย ู นายจีรพันธ์ อัศวะธนกุล หลักสูตร ปรอ. ร่นที ๒๖ ุ เอกสารวิจัยนีมีวัตถุประสงค์เพือศึกษาแนวทางการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ ประกนภัยโดยใช้ดัชนีผลผลิตเขตพื ั นที จากสถิติข้อมูลผลผลิตต่อไร่ระดับจังหวัด และนํารูปแบบ ผลิตภัณฑ์ดังกล่าวไปทดสอบความรู้ความเข้าใจและความคิดเห็นของเกษตรกร และความเต็มใจจ่าย ซือประกนภัย และวิเคราะห์ปัจจัยทีส ั ่งผลต่อความเต็มใจจ่ายทีเกษตรกรยินดีซือประกนภัย โดย ั อาศัยข้อมูลจากการสัมภาษณ์เกษตรกรในจังหวัดพิษณุโลกและขอนแก่น จํานวน ๒๒๒ ตัวอยาง ่ ผลการศึกษาพบวา รูปแบบผลิตภัณฑ์ประก ่ นภัยโดยใช้ดัชนีผลผลิตต ั ่อไร่จังหวัดเป็ นเกณฑ์การวัด ความเสียหายนัน เกษตรกรส่วนใหญ่ไม่เข้าใจเกณฑ์ในการจ่ายเงินชดเชยวาเป็ นผลผลิตต ่ ่อไร่ จังหวัดไม่ใช่ผลผลิตต่อไร่ของเกษตรกรายคน และให้ความคิดเห็นวา ตัวเลขผลผลิตต ่ ่อไร่ของ จังหวัดมีความน่าเชือถือน้อย การจ่ายเงินชดเชยควรให้ครอบคลุมต้นทุนการผลิตปลูกใหม่ ภายใต้ เงือนไขการประกนภัยข้าวนาปี โดยใช้ดัชนีผลผลิตต ั ่อไร่จังหวัด ทีระดับความคุ้มครองผลผลิตร้อย ละ ๙๐ และวงเงินชดเชยสูงสุดเท่ากบ ๑,๑๑๑ บาทต ั ่อไร่ เกษตรกรในจังหวัดพิษณุโลกมีความเต็มใจ จ่ายค่าเบียประกนภัยเฉลียประมาณ ๗๖ บาทต ั ่อไร่ มากกวาเกษตรกรในจังหวัดขอนแก ่ ่นทีมีความ เต็มใจจ่ายค่าเบียประกนภัยเฉลียประมาณ ๓๘ บาทต ั ่อไร่ ปัจจัยทีส่งผลต่อความเต็มใจจ่ายอยางมี ่ นัยสําคัญทางสถิติได้แก่ จังหวัด อายุ ขนาดทีดินประสบการณ์ในการเกิดภัยธรรมชาติ การ เตรียมการรองรับต่อความเสียงเกษตรกร ความรู้ความเข้าใจผลิตภัณฑ์ประกนภัย และความ ั น่าเชือถือในตัวเลขผลผลิตต่อไร่ของจังหวัด ข้อเสนอแนะทีสําคัญทีได้จากผลการศึกษานีคือการ พัฒนาระบบการจัดเก็บข้อมูลผลผลิตต่อไร่ในระดับหน่วยยอย เช ่ ่น ระดับอําเภอ หรือตําบล และ การสร้างความรู้ความเข้าใจในผลิตภัณฑ์ประกนภัยพืชผลโดยใช้ดัชนีผลผลิตเขตพื ั นทีให้กบั เกษตรกร

abstract:

ABSTRACT Title Desired Crop Insurance Product Development Field Economics Name MR.JIRAPHANT ASVATANAKUL Course NDC(JSPS) Class 26 The objectives of this research paper are a yield index crop insurance product from the provincial yield data, to test farmers’ understandings, opinions and willingness to pay for the area yield index insurance product and to analyze factors determining willingness to pay for the insurance product. The data is drawn from the field survey questionnaires, including a total of 222 respondent rice famers in Pisanulok and Khon Kan provinces. The results have shown that most farmers did not understand the concept of the insurance product that indemnity payments would be compensated based not on a farmer’s individual yield but rather on the aggregate yield at the province. Most farmers based not on a farmer’s individual yield but rather on the aggregate yield at the province.Most farmers expressed a low level of trust for the yield data for rice at the provincial level. In addition they expressed that the amount of sum insured should be based on the production cost of replanting. With the provinaial yield index insurance at 90% level of coverage and sum insured at 1,111 Baht per Rai,Pitsanulok farmers were willing to pay 76 Baht per Rai while Khonkan farmers were willing to pay 38 Baht per Rai.Using T-test and analysis of variance, factors significantly affecting the willingness to pay for insurance product were province, age, rice planted area, experience of shocks, adoption of risk management practics, understanding of insurance product and level of trust for provincial yield data. Major recommendations from the results included improving the quality of estimating yield data at the smaller units such as district/sub-district level and strengthening farmer’s knowledge aboout the concept of area yield index insurance.